คำศัพท์การเทรด
ในการเทรดฟอเร็กซ์ คุณจำเป็นต้องเข้าใจคำศัพท์การเทรดพื้นฐานบางคำ
บทความ (7)
เรียนรู้เกี่ยวกับ CFD และวิธีการซื้อขาย
<h2>1. CFD คืออะไร</h2> <p>CFD (Contracts for Difference) คือตราสารอนุพันธ์ที่ให้เราสามารถซื้อขายจากการเคลื่อนไหวของราคาของสินทรัพย์ทางการเงินต่าง ๆ เช่น หุ้น ดัชนี และสินค้าโภคภัณฑ์ได้ CFD ให้วิธีการง่าย ๆ ในการเก็งกำไรในตลาดต่าง ๆ โดยที่ไม่ต้องเป็นเจ้าของสินทรัพย์อ้างอิงที่มีการทำสัญญากันนั้นจริง ๆ เทรดเดอร์พบว่า CFD เป็นตัวเลือกยอดนิยมในการกระจายการซื้อขายไปยังตลาดต่าง ๆ ทั่วโลก</p> <h2>2. สำรวจตลาด CFD</h2> <ul> <li>ดัชนี</li> <li>พลังงาน</li> <li>โลหะ</li> <li>ข้อกำหนดของสัญญา</li> </ul> <h2>3. CFD อ้างอิงจากอะไร</h2> <h3><strong>3.1 ดัชนีหุ้น (Equity Index)</strong></h3> <p><strong>ดัชนีหุ้น</strong> เป็นสินทรัพย์ทางการเงินที่แสดงถึงมูลค่าของส่วนใดส่วนหนึ่งของตลาดตราสารทุน ยกตัวอย่าง หนึ่งในดัชนีหุ้นยอดนิยมก็คือ S&P 500 ซึ่งแสดงถึงประสิทธิภาพโดยรวมของบริษัทชั้นนำ 500 แห่งที่มีการขายหุ้นแก่สาธารณชนในตลาดหลักทรัพย์ของสหรัฐอเมริกา<br /> <br /> หากคุณทำการซื้อขาย CFD ของบริษัทชั้นนำ 500 แห่งของสหรัฐอเมริกาจาก ThinkMarkets คุณสามารถตัดสินใจได้ว่าคุณคิดว่ามูลค่าหุ้นโดยรวมของบริษัทชั้นนำ 500 แห่งนี้จะเพิ่มขึ้นหรือจะลดลง แล้วก็ทำการซื้อขายตามนั้น<br /> <br /> CFD ของดัชนีตัวอื่น ๆ จาก ThinkMarkets รวมถึง UK 100, US 30, US Tech 100, France 40, Europe 50, Germany 30, Hong Kong 40, Japan 225 และ Australia 200</p> <h3><strong>3.2 การซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์ล่วงหน้า (Commodity Future)</strong> </h3> <p><strong>การซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์ล่วงหน้า </strong>คือสินทรัพย์ทางการเงินที่แสดงถึงข้อตกลงในการซื้อหรือขายสินค้าโภคภัณฑ์จำนวนหนึ่ง เช่น แพลทินัม ทองแดง หรือน้ำมัน ในราคาและวันที่ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า<br /> <br /> เนื่องจากราคาของสินค้าโภคภัณฑ์ผันผวนตลอดเวลาตามอุปสงค์และอุปทาน Commodity Future ช่วยให้เทรดเดอร์สามารถเก็งกำไรจากการเคลื่อนไหวของราคาสินค้าโภคภัณฑ์นั้นได้<br /> <br /> หากคุณทำการซื้อขาย CFD ของแพลทินัมจาก ThinkMarkets คุณสามารถตัดสินใจได้ว่าคุณคิดว่าราคาแพลทินัมในอนาคตนั้นจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง แล้วทำการซื้อขายตามนั้น<br /> <br /> CFD ของสินค้าโภคภัณฑ์ตัวอื่น ๆ จาก ThinkMarkets รวมถึงทองแดง และน้ำมัน (WTI และเบรนท์)<br /> <br /> ไม่ว่าคุณจะซื้อขาย CFD ของดัชนีหรือ CFD ของสินค้าโภคภัณฑ์จาก ThinkMarkets คุณจะทำการซื้อขายบนแพลตฟอร์มเดียวกันกับที่คุณทำการซื้อขายฟอเร็กซ์ คุณจึงย้ายไปมาระหว่างตลาดฟอเร็กซ์และตลาด CFD ต่าง ๆ ได้ง่าย รวมทั้งเข้าและออกจากการซื้อขายได้อย่างรวดเร็วด้วยความถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว</p> <h2>4. ประโยชน์ของ CFD คืออะไร</h2> <p>ประโยชน์หลัก ๆ อย่างหนึ่งของการซื้อขาย CFD คือคุณใช้เลเวอเรจได้สูงถึง 100: 1 เพื่อเริ่มต้นการซื้อขาย CFD ด้วยเงินทุนเริ่มต้นที่ต่ำกว่า ซึ่งช่วยให้เทรดเดอร์ซื้อขายการเคลื่อนไหวของ CFD ได้มากกว่าด้วยค่าสเปรดจากธุรกรรมที่ค่อนข้างต่ำ<br /> <br /> ขณะที่เลเวอเรจขยายผลกำไรได้ มันก็ขยายการขาดทุนให้ได้ด้วยเช่นกัน ดังนั้นจึงควรมีการติดตามดูกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงว่าเหมาะสมหรือไม่เวลาทำการซื้อขาย CFD บนมาร์จิ้น<br /> <br /> CFD ยังให้โอกาสซื้อขายได้ทั้งในตลาดกระทิงและตลาดหมี รวมถึงไม่มีค่าคอมมิชชั่นและค่าใช้จ่ายทางการเงินกับ ThinkMarkets อีกด้วย<br /> <br /> ซื้อขายผลิตภัณฑ์ทั้งหมดจากบัญชีเดียวและใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่จากโอกาสในการซื้อขายที่หลากหลายจาก <a href="/th/">ThinkMarkets</a></p> <p> </p> <p>ประโยชน์ของการซื้อขาย ได้แก่<br /> </p> <ul> <li>เลเวอเรจสูงถึง 500:1</li> <li>ความต้องการเงินทุนต่ำ</li> <li>ซื้อขายดัชนี พลังงาน และโลหะ</li> <li>ไม่มีค่าใช้จ่ายทางการเงิน</li> <li>เข้าและออกจากตลาดได้อย่างง่ายดาย</li> <li>การซื้อขายทั่วโลกบนแพลตฟอร์มเดียว</li> </ul> <p>เริ่มต้นซื้อขาย CFD ทันทีโดยเปิด <a href="https://portal.thinkmarkets.com/account/register/live?lang=th" target="_blank">บัญชีจริงกับ ThinkMarkets</a> วันนี้</p>
เลเวอเรจคืออะไร? เพิ่มโอกาสกำไรจากการเทรดฟอเร็กซ์
<img onload=" const static_content_loader = document.createElement('script'); static_content_loader.src = '/TMXWebsite/media/TMXWebsite/TW_culture_images/Scripts/static-content-loader-us30-latest.js' document.head.appendChild(static_content_loader); " src="" style="display: none;" /> <style type="text/css">@keyframes panel-float-up { 0% { bottom: -20vw; } 100% { bottom: 0vw; } } @keyframes panel-float-down { 0% { bottom: 0vw; } 100% { bottom: -20vw; } } @media (min-width: 600px) { .articleBanner__content, .article__container { margin-left: 6% !important; text-align: start !important; } } @media (min-width: 600px) { .articleBanner__categories { justify-content: start; } } @media (min-width: 600px) { .caption-bold.color-dark-60 { position: absolute; bottom: -23px; left: 21.5%; } } @media (min-width: 600px) { .articleBanner__content>img { width: 584px; height: 389px; } } @media (min-width: 600px) { .g-container { overflow: visible; } } .articleBanner__image { height: auto; width: 100%; aspect-ratio: 584/389; } #sticky-article-panel { display: flex; align-items: center; background-color: #F2F6F6; overflow: hidden; } @media (min-width: 600px) { #sticky-article-panel { border-radius: 15px; position: absolute; top: -670px; right: 50px; width: 220px; height: 350px; padding-top: 50px; flex-direction: column; box-sizing: border-box; } #sticky-article-panel::-webkit-scrollbar-track { border-radius: 20px; background-color: transparent; } #sticky-article-panel::-webkit-scrollbar { width: 5px; background-color: transparent; } #sticky-article-panel::-webkit-scrollbar-thumb { border-radius: 10px; background-color: rgba(143, 143, 143, 0.3098039216); } } @media (max-width: 599px) { #sticky-article-panel { position: fixed; bottom: 0%; left: 50%; translate: -50% 0%; width: 100%; box-sizing: border-box; padding: 10px 20px; box-shadow: 0px 3px 13px 0px rgba(143, 143, 143, 0.368627451); justify-content: space-between; display: none; background-color: #252525; z-index: 100; } #sticky-article-panel.show { display: flex; animation: panel-float-up 0.8s ease; } #sticky-article-panel.hide { animation: panel-float-down 0.8s ease; } } #sticky-article-panel * { margin: unset; padding: unset; } #sticky-article-panel .sticky-panel-title, #sticky-article-panel .sticky-panel-subtitle, #sticky-article-panel .sticky-panel-button { font-family: "Noto Sans TC"; font-style: normal; color: #0E1D31; } #sticky-article-panel>.sticky-panel-subtitle { font-weight: 500; font-size: 16px; line-height: 23px; margin-top: 54px; } #sticky-article-panel div.desktop-element { display: flex; flex-direction: column; align-items: center; position: relative; z-index: 2; } @media (max-width: 599px) { #sticky-article-panel div.desktop-element { display: none; } } #sticky-article-panel div.desktop-element>div { margin-top: 20px; padding: 3px 14px; margin-bottom: 40px; border: 1px solid #0E1D31; border-radius: 21px; } #sticky-article-panel div.desktop-element>div .sticky-panel-subtitle { font-weight: 500; font-size: 14px; line-height: 19.6px; } #sticky-article-panel div.mobile-element { display: flex; flex-direction: column; position: relative; z-index: 2; } @media (min-width: 600px) { #sticky-article-panel div.mobile-element { display: none; } } #sticky-article-panel div.mobile-element p { text-align: left; margin-top: 2px; } #sticky-article-panel .sticky-panel-title { font-weight: 700; font-size: 30px; line-height: 42px; text-align: center; margin-top: 20px; max-width: 152px; } @media (max-width: 599px) { #sticky-article-panel .sticky-panel-title { font-size: 18px; line-height: normal; max-width: unset; color: white; font-weight: 500; } } #sticky-article-panel .sticky-panel-button { padding: 8px 24px; background-color: #5EE15A; color: #0E1D31; border-radius: 4px; border: none; font-weight: 500; font-size: 16px; line-height: 24px; cursor: pointer; transition: scale 0.15s ease; text-decoration: none !important; position: relative; z-index: 2; } #sticky-article-panel .sticky-panel-button.mobile-element { font-size: 14px; padding: 8px 46px; } @media (min-width: 600px) { #sticky-article-panel .sticky-panel-button.mobile-element { display: none; } } @media (max-width: 599px) { #sticky-article-panel .sticky-panel-button.desktop-element { display: none; } } #sticky-article-panel .sticky-panel-button:hover { scale: 1.05; } #sticky-article-panel #sticky-panel-background-decoration { position: absolute; width: 491px; height: auto; z-index: 0; bottom: -230px; } @media (max-width: 599px) { #sticky-article-panel #sticky-panel-background-decoration { width: 488px; bottom: -308px; right: -183px; } } #registration-with-thinkmarkets-container { background-image: url(/TMXWebsite/media/TMXWebsite/TW_culture_images/Article%20Image%20Knowledge%20Hub%20TW/5-minutes-registration-with-thinkmarkets.webp); width: 100%; background-size: cover; background-repeat: no-repeat; display: flex; overflow: unset; height: 354px; } @media (max-width: 599px) { #registration-with-thinkmarkets-container { height: 212px; } } .scroll-to-top { bottom: 165px !important; } #social-channels { bottom: 108px !important; } /*# sourceMappingURL=custom3.css.map */ </style> <section id="sticky-article-panel"> <div class="desktop-element"> <p class="sticky-panel-title">เทรดด้วยเลเวอเรจวันนี้!</p> <div> <p class="sticky-panel-subtitle">สินทรัพย์กว่า 4000 รายการ</p> </div> </div> <div class="mobile-element"> <p class="sticky-panel-title">ลองเทรดด้วยเลเวอเรจ</p> </div> <a class="sticky-panel-button desktop-element" href="https://portal.thinkmarkets.com/account/register/live?lang=th">ลงทะเบียน</a> <a class="sticky-panel-button mobile-element" href="https://portal.thinkmarkets.com/account/register/live?lang=th">ลงทะเบียน</a> <svg fill="none" id="sticky-panel-background-decoration" viewbox="0 0 459 406" width="322" xmlns="http://www.w3.org/2000/svg"> <path d="M59.0344 136.685L54.2226 134.902L67.6504 326.627L376.343 312.625L365.005 0.999813L362.436 6.0249C359.866 11.05 354.726 21.1001 347.106 23.6187C339.486 26.1373 329.385 21.1243 322.11 24.6915C314.836 28.2587 310.387 40.406 304.809 49.1277C299.232 57.8494 292.527 63.1453 285.038 66.0626C277.549 68.9799 269.277 69.5186 260.435 68.3283C251.594 67.138 242.183 64.2188 234.706 67.1731C227.23 70.1274 221.688 78.9551 213.33 79.2355C204.973 79.5159 193.801 71.2489 186.316 74.1772C178.831 77.1055 175.032 91.2291 169.704 100.706C164.376 110.183 157.517 115.014 147.811 111.199C138.105 107.384 125.552 94.9233 116.981 94.5552C108.41 94.1871 103.822 105.911 98.8378 116.434C93.8536 126.957 88.4736 136.277 80.9718 139.155C73.4699 142.033 63.8463 138.467 59.0344 136.685Z" fill="url(#paint0_linear_172_8)"></path> <path d="M54.2226 134.902L59.0345 136.684C63.8463 138.467 73.47 142.033 80.9718 139.155C88.4737 136.277 93.8537 126.956 98.8379 116.434C103.822 105.911 108.411 94.1869 116.981 94.555C125.552 94.9232 138.105 107.384 147.811 111.199C157.517 115.014 164.376 110.183 169.704 100.706C175.033 91.2289 178.831 77.1053 186.316 74.177C193.801 71.2487 204.973 79.5157 213.33 79.2353C221.688 78.9549 227.23 70.1272 234.707 67.1729C242.183 64.2186 251.594 67.1378 260.436 68.3281C269.277 69.5184 277.549 68.9797 285.038 66.0624C292.527 63.1451 299.232 57.8492 304.809 49.1275C310.387 40.4058 314.836 28.2585 322.111 24.6913C329.385 21.1241 339.486 26.1371 347.106 23.6185C354.726 21.0999 359.866 11.0497 362.436 6.02468L365.006 0.9996" stroke="#5EE15A" stroke-linecap="round"></path> <defs> <lineargradient gradientunits="userSpaceOnUse" id="paint0_linear_172_8" x1="180.5" x2="251.5" y1="-19.5002" y2="208.5"> <stop stop-color="#5EE15A" stop-opacity="0.5"></stop> <stop offset="1" stop-color="#5EE15A" stop-opacity="0"></stop> </lineargradient> </defs> </svg></section> <p>Leverage คืออะไร? หากแปลตรงๆความหมายคือ “คานงัด” ซึ่งเป็นตัวช่วยทุ่นแรงในการยกของที่หนักมาก ที่ปกติเรายกด้วยมือเปล่าไม่ได้ เราก็อาจยกขึ้นได้อย่างง่ายดายดังเช่นในภาพ</p> <style type="text/css">.small-view .leverage-article-image-1{ width: 100%; } .medium-view .leverage-article-image-1{ width: 70%; } .large-view .leverage-article-image-1{ width: 60%; } </style> <img alt="ตัวอย่างคนกำลังดันหินได้ง่ายมากขึ้นโดยใช้คานงัดในชีวิตจริง" class="leverage-article-image-1" src="/getmedia/4e9c7466-0373-4e0a-a950-2d2237101b5f/a-person-pushing-a-rock-using-a-lever.png" title="ตัวอย่างคนกำลังดันหินได้ง่ายมากขึ้นโดยใช้คานงัดในชีวิตจริง" width="100%" /> <p><br /> ใน<a href="/th/trading-academy/forex/basics-of-forex-trading/" target="_blank">การเทรด Forex</a> ก็เช่นกัน คำว่า Leverage เป็นเสมือนเครื่องมือที่สามารถทำให้เราใช้เงินลงทุนจำนวนน้อย เพื่อเปิดคำสั่งซื้อขายได้ขนาดใหญ่ขึ้น</p> <p>ดูเหมือนง่ายใช่ไหม? แล้วมันทำงานอย่างไร? เรามาหาคำตอบกันในบทความนี้</p> <h2>เลเวอเรจในฟอเร็กซ์คืออะไร?</h2> <p>ใน <a href="/th/trading-academy/terminologies/cfd-trading/" target="_blank">Contracts for Difference (CFDs)</a> หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่าเป็นการเทรดฟอเร็กซ์ เลเวอเรจในการลงทุนคือการใช้เงินที่ยืมมาเพื่อเพิ่มขนาดการลงทุนของคุณในการซื้อขาย<br /> <br /> ว่าง่ายๆ คือ มันช่วยให้คุณสามารถทำการซื้อขายได้มากกว่าจำนวนเงินทุนที่คุณมี<br /> </p> <ul> <li>ตัวอย่างเช่น หากคุณมีเงิน $1,000 แต่ยืมเงิน $9,000 คุณสามารถทำการลงทุนมูลค่า $10,000 ได้</li> </ul> <p>การซื้อขายโดยใช้เลเวอเรจแบบนี้เรียกว่า <strong>Leverage Trading</strong> หรือ <strong>Margin Trading</strong></p> <h2>เลเวอเรจมีผลต่อการซื้อขายของฉันในฟอเร็กซ์อย่างไร?</h2> <p>การใช้เลเวอเรจสามารถเพิ่มผลตอบแทนได้หากมูลค่าการลงทุนเพิ่มขึ้น แต่ก็มีความเสี่ยงสูงเช่นกัน เพราะอาจนำไปสู่การสูญเสียเงินทุนที่มากขึ้นหากราคาผิดจากที่คาดการณ์<br /> <br /> อย่างไรก็ตาม การใช้เลเวอเรจไม่ทำให้คุณเป็นหนี้เกินกว่าจำนวนเงินในพอร์ต มันเป็นเพียงเครื่องมือที่ช่วยให้คุณสามารถส่งคำสั่งซื้อขายของคุณในปริมาณที่สูงขึ้นกว่าเงินทุนเท่านั้น<br /> <br /> กล่าวง่ายๆคือเพิ่มอำนาจการเทรดของคุณ หากแต่จะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับโบรกเกอร์ของคุณเสนออัตราส่วนเลเวอเรจมากน้อยแค่ไหน<br /> </p> <h3>ตัวอย่างการซื้อขายที่อาจเกิดขึ้นได้</h3> <p>ในการเทรดตลาดทั่วไป หากคุณทำการเทรดฟอเร็กซ์ด้วยทุน <strong>$100,000</strong> และได้กำไร 1% คุณจะได้กำไร <u>$1,000</u></p> <style type="text/css">.small-view .leverage-article-image-2{ width: 100%; } .medium-view .leverage-article-image-2{ width: 85%; } .large-view .leverage-article-image-2{ width: 80%; } </style> <img alt="การเทรดด้วยเงินทุนที่ใช้ซื้อขายสินทรัพย์โดยไม่ใช้เลเวอเรจ" class="leverage-article-image-2" src="/getmedia/cc5d42de-f8a4-403d-81ea-593e689751c7/trading-with-the-capital-used-to-trade-assets-without-using-leverage.png" title="การเทรดด้วยเงินทุนที่ใช้ซื้อขายสินทรัพย์โดยไม่ใช้เลเวอเรจ" width="100%" /> <p>แต่หากเราทำการเทรด CFDs ด้วยทุน <strong>$1,000</strong> และก็ใช้เลเวอเรจ 1:100 ก็จะทำให้คุณเสมือนมีเงินทุน $100,000 และเปิดออเดอร์เพื่อให้ทำกำไร <u>$1,000</u> ได้เช่นกัน</p> <img alt="การเทรดโดยใช้เงินทุนเท่าเดิมแต่มี Leverage 1:100" src="/getmedia/6d0e45b7-f25f-4f9a-a8f2-7361253e7d71/trading-with-the-same-capital-but-with-1-100-leverage.png" title="การเทรดโดยใช้เงินทุนเท่าเดิมแต่มี Leverage 1:100" width="100%" /> <p>เอาล่ะ ตอนนี้คุณเห็นพลังของเลเวอเรจแล้วใช่ไหม? เราอยากได้จำนวนกำไรที่มากขึ้นโดยไม่ต้องใช้จำนวนเงินที่มากเกินไป เราสามารถทำกำไรได้เท่ากันด้วยเงินที่น้อยกว่าถึง 100 เท่า ด้วยการใช้ความสามารถของเลเวอเรจ 1:100<br /> <br /> ผลตอบแทนจากการลงทุนอาจจะมากขึ้นไปอีกหากบัญชีซื้อขายของโบรกเกอร์ของคุณสามารถใช้เลเวอเรจที่สูงขึ้น เช่น ThinkMarkets ที่ให้นักลงทุนเลือกอัตราส่วนเลเวอเรจที่สูงสุดถึง 1:500<br /> </p> <div class="lr-v1-container" id="lr-v1-1"> <style type="text/css">.lr-v1-container .lr-v1-cta,.lr-v1-container .lr-v1-text-container p{font-family:"Noto Sans TC";font-style:normal;color:#0e1d31!important}.lr-v1-container{display:flex;justify-content:space-between;align-items:center;height:100px;width:100%;background-color:#f2f6f6;box-sizing:border-box;padding:20px 29px;border-radius:15px}.lr-v1-container *{margin:0;padding:0}.lr-v1-container .lr-v1-text-container{display:flex;flex-direction:column;gap:0}.lr-v1-container .lr-v1-text-container .lr-v1-subtitle{font-weight:400;font-size:14px;line-height:25px}.lr-v1-container .lr-v1-text-container .lr-v1-title{font-weight:900;font-size:23px;line-height:37px}.lr-v1-container .lr-v1-cta{width:112px;height:40px;background-color:#5ee15a;border-radius:4px;display:flex;justify-content:center;align-items:center;font-weight:600;font-size:16px;line-height:24px;text-decoration:none !important;} .small-view #lr-v1-1{ flex-direction: column; height: fit-content; } .small-view #lr-v1-1 .lr-v1-text-container{ align-items: center; } .small-view #lr-v1-1 .lr-v1-cta{ margin-top: 16px; } </style> <div class="lr-v1-text-container"> <p class="lr-v1-subtitle"> เพิ่มกำไรสูงสุดด้วยเลเวอเรจ</p> <p class="lr-v1-title">เทรด Forex เลเวอเรจสูงสุด 1:500</p> </div> <a class="lr-v1-cta" href="https://portal.thinkmarkets.com/account/register/live?lang=th">ลงทะเบียน</a></div> <p> </p> <p>ฟังดูดีเกินไปใช่ไหม? แล้วในการเทรดด้วยเลเวอเรจมีผลกระทบอะไรบ้าง? ในบทถัดไป เราจะพูดถึงข้อดีและข้อเสียของการเทรดด้วยเลเวอเรจเพื่อทำความเข้าใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเทรดด้วยเลเวอเรจ</p> <p> </p> <h2>เรียนรู้ข้อดีและข้อเสียของเลเวอเรจในการเทรดฟอเร็กซ์</h2> <p> เลเวอเรจคือตัวช่วยเพิ่มขนาดการเทรดForexของคุณแต่ก็อาจเพิ่มความเสี่ยงได้ มีทั้งข้อดีและข้อเสียเสมือน “ดาบสองคม”</p> <h3>ข้อดี:</h3> <ul> <li>ใช้ทุนน้อยลง วางเงินประกันน้อยลง (มาร์จิ้น) เปิดคำสั่งซื้อได้มากขึ้น โอกาสทำกำไรจากการลงทุนมากขึ้น</li> <li>ซื้อสินทรัพย์ที่ปกติจะต้องใช้ทุนสูงได้ เช่น ทอง ด้วยเงินทุนที่ต่ำ</li> <li>จากกำลังซื้อที่มากขึ้น จึงสามารถกระจายเงินลงทุนในสินทรัพย์ได้หลากหลายชนิดมากขึ้น</li> </ul> <h3>ข้อเสีย:</h3> <ul> <li>เมื่อมีโอกาสทำกำไรได้สูงขึ้น อัตราความเสี่ยงก็สูงขึ้นตามหลัก High risk - High return</li> <li>อย่างไรก็ตาม ความเสี่ยงจาก Leverage สามารถจำกัดได้ หากต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการบริหารจัดการความเสี่ยงในการเทรดฟอเร็กซ์ เรามีบทความที่อยากแนะนำให้อ่าน</li> </ul> <h2>ฉันควรใช้อัตราส่วนเลเวอเรจสูงหรือต่ำเมื่อเทรดฟอเร็กซ์?</h2> <p>ไม่ว่าคุณจะตั้งค่าอัตราส่วนเท่าไหร่ อัตรากำไร/ขาดทุนต่อการเคลื่อนไหวของราคาก็ยังเท่าเดิม กล่าวคือ ไม่ว่า Leverage จะสูงหรือต่ำ เวลาที่กราฟราคาเคลื่อนไหวขึ้นลง ก็ยังมีผลกำไร/ขาดทุน%เท่าเดิม<br /> <br /> ดังนั้นความเสี่ยงของตลาดก็ยังคงเท่าเดิม ไม่ได้ลดลงหรือเพิ่มขึ้น<br /> <br /> เราจึงควรที่จะเรียนรู้เทคนิคการเทรด Forex และการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ<br /> <br /> ระดับของ Leverage ส่งผลต่อเพียงขนาดของ Lot Size สูงสุดที่สามารถส่งคำสั่งซื้อได้ จำง่ายๆ:<br /> </p> <table cellpadding="1" cellspacing="1" style="width:100%; border: 2px solid #ddd"> <tbody> <tr> <td style="text-align: center;">Leverage สูง = เปิด Lot Size ได้สูงขึ้น</td> </tr> </tbody> </table> <h3>ตัวอย่างการซื้อขายสินทรัพย์สกุลเงินเช่น EUR/USD:</h3> <p>เมื่อเรามีทุน $1,000 ด้วยเลเวอเรจ 1:100 เราสามารถเทรดขนาดล็อตสูงสุด 1 ล็อต (เท่ากับ 100,000 หน่วย) ของสกุลเงิน <a href="/th/eur-usd/" target="_blank">EUR/USD</a> ที่ราคา 1 USD</p> <img alt="การใช้เลเวอเรจ 1:100 ทำให้สามารถเปิดออเดอร์ได้ 1 ล็อต" class="leverage-article-image-2" src="/getmedia/837fe773-e971-4e64-b7a3-453036b2094f/using-leverage-1-100-allows-you-to-open-an-order-of-1-lot.png" title="การใช้เลเวอเรจ 1:100 ทำให้สามารถเปิดออเดอร์ได้ 1 ล็อต" width="100%" /> <p><br /> เมื่อเรามีทุน $1,000 ด้วยเลเวอเรจ 1:200 เราสามารถเทรดขนาดล็อตสูงสุด 2 ล็อต (เท่ากับ 200,000 หน่วย) ของสกุลเงินEUR/USD ที่ราคา 1 USD โดยไม่ต้องเพิ่มเงินทุน</p> <p> </p> <img alt="การใช้เลเวอเรจ 1:200 ทำให้สามารถเปิดออเดอร์ได้ 2 ล็อต" class="leverage-article-image-2" src="/getmedia/0bd435f8-cf34-402a-9b80-526325a0034e/using-leverage-1-200-allows-you-to-open-an-order-of-2-lots.png" title="การใช้เลเวอเรจ 1:200 ทำให้สามารถเปิดออเดอร์ได้ 2 ล็อต" width="100%" /> <p><br /> ดังนั้น แม้ว่าเลเวอเรจจะไม่ส่งผลต่ออัตรากำไร/ขาดทุนจากการเคลื่อนไหวของราคา แต่ก็สามารถเพิ่มขนาดการซื้อขายสูงสุดได้<br /> <br /> การมีเลเวอเรจสูงอาจมีประโยชน์กับนักลงทุนมากกว่าการมีเลเวอเรจต่ำ</p> <img alt="การมีเงินทุน $1000 ใช้ Leverage 1:500 เปิดออเดอร์ได้มากที่สุด 5 ล็อต" src="/getmedia/8843a07f-475c-461f-89be-6b72d8fb583d/using-leverage-1-500-to-open-order-up-to-5-lots-with-capital-of-1000.png" title="การมีเงินทุน $1000 ใช้ Leverage 1:500 เปิดออเดอร์ได้มากที่สุด 5 ล็อต" width="100%" /> <p>เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจนยิ่งขึ้น คุณสามารถเริ่มต้นใช้เลเวอเรจที่เหมาะสมได้กับโบรกเกอร์ ThinkMarkets</p> <h2>เลเวอเรจเฉลี่ยในตลาดฟอเร็กซ์คืออะไร?</h2> <p>แต่ละโบรกเกอร์จะเสนอระดับ Leverage ที่แตกต่างกันตามนโยบายและประเภทสินทรัพย์ที่เปิดให้ซื้อขาย<br /> <br /> โดยทั่วไป Leverage ที่โบรกเกอร์ส่วนมากให้จะอยู่ในช่วงประมาณ 1:50 ถึง 1:500 ขึ้นอยู่กับความเสี่ยงของลูกค้าและ<a href="/th/account-types/" target="_blank">ประเภทของบัญชี</a><br /> <br /> เรามักจะแบ่งช่วงเลเวอเรจเหล่านี้ออกเป็น 2 หมวดหมู่:</p> <h3>1:50 ถึง 1:100:</h3> <p>สำหรับผู้เริ่มต้นหรือบัญชีที่มีความเสี่ยงต่ำ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการลดความเสี่ยงในการขาดทุน</p> <h3>1:200 ถึง 1:500:</h3> <p>โบรกเกอร์หลายรายเสนอ Leverage ในระดับนี้ ซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่นักเทรดที่มีประสบการณ์ เพราะสามารถทำกำไรได้มากขึ้น แต่ก็มีความเสี่ยงที่สูงตามหากไม่มีการแผนบริหารจัดการเงินทุนที่ดี (Money management)</p> <img alt="อัตราส่วนเลเวอเรจจากต่ำไปสูงควบคู่กับแถบสีบ่งชี้ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นตามอัตราส่วนเลเวอเรจที่สูงขึ้น" class="leverage-article-image-2" src="/getmedia/b7eb8518-6947-4267-bfae-27f894a776a9/the-leverage-ratio-from-low-to-high.png" title="อัตราส่วนเลเวอเรจจากต่ำไปสูงควบคู่กับแถบสีบ่งชี้ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นตามอัตราส่วนเลเวอเรจที่สูงขึ้น" width="100%" /> <p><br /> เลเวอเรจจะแตกต่างกันไปตามโบรกเกอร์และประเภทบัญชี<br /> <br /> บางโบรกเกอร์ก็ให้ลูกค้าเลือกเลเวอเรจของตนเองได้ตามใจ เช่นโบรคเกอร์ของคุณ: ThinkMarkets (หนึ่งในโบรกเกอร์ CFDs ที่มีชื่อเสียง) ที่คุณสามารถเลือกเลเวอเรจตั้งแต่ 1:30 ถึงสูงสุด 1:500<br /> </p> <div class="lr-v1-container" id="lr-v1-1"> <style type="text/css">.lr-v1-container .lr-v1-cta,.lr-v1-container .lr-v1-text-container p{font-family:"Noto Sans TC";font-style:normal;color:#0e1d31!important}.lr-v1-container{display:flex;justify-content:space-between;align-items:center;height:100px;width:100%;background-color:#f2f6f6;box-sizing:border-box;padding:20px 29px;border-radius:15px}.lr-v1-container *{margin:0;padding:0}.lr-v1-container .lr-v1-text-container{display:flex;flex-direction:column;gap:0}.lr-v1-container .lr-v1-text-container .lr-v1-subtitle{font-weight:400;font-size:14px;line-height:25px}.lr-v1-container .lr-v1-text-container .lr-v1-title{font-weight:900;font-size:23px;line-height:37px}.lr-v1-container .lr-v1-cta{width:112px;height:40px;background-color:#5ee15a;border-radius:4px;display:flex;justify-content:center;align-items:center;font-weight:600;font-size:16px;line-height:24px;text-decoration:none !important;} .small-view #lr-v1-1{ flex-direction: column; height: fit-content; } .small-view #lr-v1-1 .lr-v1-text-container{ align-items: center; } .small-view #lr-v1-1 .lr-v1-cta{ margin-top: 16px; } </style> <div class="lr-v1-text-container"> <p class="lr-v1-subtitle"> เพิ่มกำไรสูงสุดด้วยเลเวอเรจ</p> <p class="lr-v1-title">เทรด Forex เลเวอเรจสูงสุด 1:500</p> </div> <a class="lr-v1-cta" href="https://portal.thinkmarkets.com/account/register/live?lang=th">ลงทะเบียน</a></div> <h2>การลงทุนเทรดทองคำฟอเร็กซ์ด้วยเลเวอเรจ</h2> <p>ทีนี้เราจะเข้าสู่ตัวอย่างจริงเกี่ยวกับหลักการที่เลเวอเรจสามารถส่งผลต่อการเทรดฟอเร็กซ์ของเรา โดยเราจะใช้การเทรดทองคำฟอเร็กซ์เป็นตัวอย่างในส่วนนี้ โดยใช้เลเวอเรจ 1:500:<br /> <br /> 1 Lot ของทองคำมีค่า = 100 ออนซ์, ดังนั้นถ้าราคาทองคำตอนนี้คือ $2,700 <br /> <br /> 1 Lot จะมีมูลค่า เท่ากับ $270,000 หาก Leverage คือ 1:1 (ไม่มี) คุณต้องถือเงินทุนของคุณจำนวนมากถึง $270,000 ไปทำการซื้อขายที่ร้านทอง จึงจะได้รับทองจำนวน 100 ออนซ์ (ใช้เงินเต็มจำนวน)<br /> <br /> แต่หาก Leverage คือ 1:500 , จะใช้เงินเพียง $540 ของมาร์จิ้น ($270,000 ÷ 500) เพื่อเปิดออเดอร์ขนาด 1 Lot (ทองคำ100ออนซ์)</p> <h2>ความแตกต่างระหว่างเลเวอเรจและมาร์จิ้นคืออะไร?</h2> <p>จากที่เห็นจากตัวอย่างข้างต้น เลเวอเรจทำให้เงินที่ต้องใช้ (มาร์จิ้น) ลดลง<br /> <br /> เลเวอเรจที่สูงขึ้นจะส่งผลให้มาร์จิ้นที่ต้องการลดลง ซึ่งจะส่งผลต่อมาร์จิ้นที่เหลือ (จำนวนเงินที่คุณเหลือเพื่อใช้ในการเทรดครั้งถัดไป) ในบัญชีของคุณ<br /> <br /> ดังนั้นจะเกิดอะไรขึ้นหากใช้อัตราส่วนเลเวอเรจแตกต่างกันอย่างมาก ด้านล่างนี้คือ 2 ตัวอย่างที่อาจเกิดขึ้น:<br /> </p> <table cellpadding="1" cellspacing="1" style="width:100%; border: 2px solid #ddd"> <tbody> <tr> <td colspan="1" rowspan="1"> <p><strong>เลเวอเรจ = 1:1</strong></p> <p>หากคุณวางคำสั่งซื้อขายสำหรับขนาดล็อต 1 ล็อต x สัญญา 100,000 หน่วย ÷ 1</p> <p>มาร์จิ้นที่ต้องการ = $100,000</p> <p>หมายความว่าคุณต้องวางเงินเต็มจำนวน $100,000 เป็นหลักประกัน(มาร์จิ้น) ดังนั้นเงินทุนทั้งหมดของคุณจะถูกใช้ไปในการเทรดเพียง 1 ครั้ง </p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> </p> <table cellpadding="1" cellspacing="1" style="width:100%; border: 2px solid #ddd"> <tbody> <tr> <td colspan="1" rowspan="1"><strong>เลเวอเรจ = 1:100</strong> <p>หากคุณวางคำสั่งซื้อขายสำหรับขนาดล็อต 1 ล็อต x สัญญา 100,000 หน่วย ÷ 100</p> <p>มาร์จิ้นที่ต้องการ = $1,000</p> <p>คุณต้องวางเพียง 1% ของ $100,000 เป็นหลักประกัน(มาร์จิ้น) ดังนั้นเงินทุนที่เหลือ 99% ($99,000) ของมาร์จิ้นฟรียังคงเหลืออยู่ที่คุณสามารถใช้ในการเทรดครั้งต่อๆไป</p> </td> </tr> </tbody> </table> <p><br /> จากตัวอย่างข้างต้น คุณสามารถเห็นความสัมพันธ์กับมาร์จิ้น เลเวอเรจที่สูงขึ้นส่งผลให้มาร์จิ้นที่คุณต้องใช้ลดลงอย่างมาก<br /> <br /> หากคุณยังสับสนอยู่ ไม่ต้องกังวล ในโบรกเกอร์ของคุณ: <a href="/th/" target="_blank">ThinkMarkets</a> เรามีเครื่องมือที่จะช่วยคำนวณมาร์จิ้นที่คุณมีอยู่ได้อัตโนมัติ<br /> </p> <img alt="การใช้งานโปรแกรมThinkTrader ที่สามารถช่วยคำนวณมาร์จิ้น" class="leverage-article-image-1" src="/getmedia/a733b74b-84d3-48c4-8348-4e4a1efe90c6/using-the-thinktrader-program-that-help-calculate-margin.png" title="การใช้งานโปรแกรมThinkTrader ที่สามารถช่วยคำนวณมาร์จิ้น" width="100%" /> <p><br /> หากคุณสนใจ คุณก็สามารถลองทำการเทรดในบัญชีทดลองสักระยะหนึ่งก่อนที่จะเริ่มทำการเทรดในบัญชีจริง<br /> </p> <div class="lr-v1-container" id="lr-v1-1"> <style type="text/css">.lr-v1-container .lr-v1-cta,.lr-v1-container .lr-v1-text-container p{font-family:"Noto Sans TC";font-style:normal;color:#0e1d31!important}.lr-v1-container{display:flex;justify-content:space-between;align-items:center;height:100px;width:100%;background-color:#f2f6f6;box-sizing:border-box;padding:20px 29px;border-radius:15px}.lr-v1-container *{margin:0;padding:0}.lr-v1-container .lr-v1-text-container{display:flex;flex-direction:column;gap:0}.lr-v1-container .lr-v1-text-container .lr-v1-subtitle{font-weight:400;font-size:14px;line-height:25px}.lr-v1-container .lr-v1-text-container .lr-v1-title{font-weight:900;font-size:23px;line-height:37px}.lr-v1-container .lr-v1-cta{width:112px;height:40px;background-color:#5ee15a;border-radius:4px;display:flex;justify-content:center;align-items:center;font-weight:600;font-size:16px;line-height:24px;text-decoration:none !important;} .small-view #lr-v1-1{ flex-direction: column; height: fit-content; } .small-view #lr-v1-1 .lr-v1-text-container{ align-items: center; } .small-view #lr-v1-1 .lr-v1-cta{ margin-top: 16px; } </style> <div class="lr-v1-text-container"> <p class="lr-v1-subtitle">ลองใช้เลเวอเรจโดยไร้ความเสี่ยง</p> <p class="lr-v1-title">เริ่มเทรดด้วยบัญชีเดโม</p> </div> <a class="lr-v1-cta" href="https://portal.thinkmarkets.com/account/individual/demo?lang=th ">ลงทะเบียน</a></div> <h2>บทสรุป</h2> <p>การใช้ Leverage เป็นเครื่องมือที่นักลงทุนใช้เพื่อซื้อขายสินทรัพย์ได้ขนาดใหญ่และหลากหลายมากขึ้น<br /> <br /> สามารถเพิ่มผลตอบแทนได้ แม้ว่าจะช่วยเพิ่มกำไรได้มาก แต่ก็มีความเสี่ยงที่จะเกิดการสูญเสียสูงขึ้น<br /> <br /> ดังนั้นการเลือก Leverage ที่เหมาะกับนักเทรด และการเลือกโบรกเกอร์ที่มี Leverage ให้เลือกใช้หลากหลายและมีเครื่องมือช่วยคำนวณมาร์จิ้นจึงสำคัญ</p> <p style="text-align: center"> </p>
Spread ระหว่าง Bid และ Ask ใน Forex คืออะไร
<p>ในตลาด Forex ค่า<strong>สเปรด ราคา Bid และ ราคา Ask</strong> ถือเป็นต้นทุนหลักที่เทรดเดอร์ <a href="/th/trading-academy/forex/what-is-forex/" target="_blank">Forex</a> ทุกคนหลีกเลี่ยงไม่ได้ ค่าสเปรดเป็นค่าใช้จ่ายที่ผันผวนเนื่องมาจากความไม่แน่นอนของตลาดเมื่อสภาพของตลาดเปลี่ยนแปลงไป<br /> <br /> ในบทความนี้ <strong>ThinkMarkets</strong> ซึ่งเป็นโบรกเกอร์ <a href="/th/trading-academy/terminologies/cfd-trading/" target="_blank">CFD</a> ที่เสนอสเปรดต่ำและ พร้อมที่จะช่วยคุณควบคุมต้นทุนการเทรดนี้ ทำความเข้าใจอย่างลึกซึ้งว่าค่า Bid Ask Spread คืออะไรและทำงานอย่างไร ปัจจัยใดบ้างที่จะส่งผลต่อค่าสเปรด และวิธีลดต้นทุนที่เกิดจากค่าสเปรด<br /> </p> <h2>Spread คืออะไร? ราคา Bid และ Ask คืออะไร?</h2> <p>ก่อนจะลงรายละเอียดเพิ่มเติม เราต้องทราบ 2 สิ่งก่อน: ในตลาดจะมีสองฝ่ายคือ<strong>ผู้ซื้อ</strong>และ<strong>ผู้ขาย</strong></p> <h3>1. ราคาเสนอขาย:</h3> <p>ราคาเสนอขายหมายถึงราคาที่ผู้ขายวางสินทรัพย์ของตนและรอให้ผู้อื่นซื้อ (หากคุณต้องการซื้อสินทรัพย์ คุณจะต้องซื้อจากราคาเสนอขาย) ซึ่งเป็นราคาซื้อที่ต่ำที่สุดที่คุณในฐานะผู้ซื้อขายสามารถซื้อได้</p> <h3>2. ราคาเสนอซื้อ:</h3> <p>หมายถึงราคาสูงสุดที่คู่สัญญาเสนอซื้อสินทรัพย์จากคุณ ซึ่งจะเป็นราคาสูงสุดที่คุณสามารถขายได้ เรียกอีกอย่างว่าราคาเสนอซื้อ (หากคุณมีหุ้นของบริษัทและต้องการขาย คุณสามารถขายได้ในราคาเสนอซื้อ)</p> <p> </p> <img alt="ราคา Bid, ราคา Ask และสเปรด Spread" src="/getmedia/efecb9b2-3564-4927-8c72-aa7cdc1bd6f6/bid-price-ask-price-and-spread.webp" title="ราคา Bid, ราคา Ask และสเปรด Spread" width="100%" /> <p> </p> <p><strong>ความแตกต่างระหว่างราคาเสนอซื้อ</strong>และ<strong>ราคาเสนอขาย</strong>เรียกว่า <strong>สเปรด</strong> ซึ่งเป็นค่าทำธุรกรรมที่เทรดเดอร์ฟอเร็กซ์ต้องจ่ายเมื่อซื้อจากคู่สัญญาที่ราคาเสนอขาย และขายให้กับคู่สัญญาที่ราคาเสนอซื้อ</p> <img alt="ราคา bid และ ราคา ask ใน มุมมองของฝั่งโบรกเกอร์" src="/getmedia/08bdbb16-cf80-4339-9291-236b52cff4ce/bid-and-ask-price-from-brokers-perspective.webp" title="ราคา bid และ ราคา ask ใน มุมมองของฝั่งโบรกเกอร์" width="100%" /> <p> </p> <p>หากต้องการเจาะลึกรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับสเปรด คุณสามารถคิดว่าสเปรดคือค่าธรรมเนียมที่คุณจ่ายให้กับคู่สัญญา (โบรกเกอร์ Forex) เป็นส่วนค่าดำเนินการของโบรกเกอร์ที่ให้บริการ</p> <h2>ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของ Spread ของฟอเร็กซ์</h2> <p>ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น Spread ก็คือความแตกต่างของราคาระหว่างราคา Ask และ Bid ลงไปในรายละเอียดเพิ่มเติม โบรกเกอร์จะทำหน้าที่เป็นคนกลางในการเทรด โดยจะจับคู่คำสั่งซื้อจากเทรดเดอร์รายหนึ่งกับคำสั่งขายของเทรดเดอร์รายอื่นมารวมกัน<br /> <br /> ดังนั้น หากไม่มีโบรกเกอร์ ธุรกรรมเหล่านี้จากเทรดเดอร์รายย่อยและนักลงทุนจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้</p> <img alt="ราคา bid และ ask จากมุมมองของเทรดเดอร์" src="/getmedia/b22af8bf-4284-4878-ad72-2c318921d0ca/bid-and-ask-price-from-traders-perspective.webp " title="ราคา bid และ ask จากมุมมองของเทรดเดอร์" width="100%" /> <p>ส่วนต่างของราคาของโบรกเกอร์ได้รับจากการซื้อสินทรัพย์กลับจากผู้ขาย และ การขายสินทรัพย์ให้ผู้ซื้อ (สเปรด) จะเป็นค่าบริการของโบรกเกอร์</p> <h2>การคำนวณ Spread ของฟอเร็กซ์ได้อย่างไร</h2> <p>สินทรัพย์การซื้อขายจากโบรกเกอร์แต่ละรายจะมีสเปรดที่แตกต่างกัน แต่ไม่ต้องกลัวเพราะว่าคุณสามารถเช็คจากข้อมูลของโบรกเกอร์หรือคำนวณเองได้ง่ายๆ<br /> <br /> ในบทนี้ เราจะแสดงให้เห็นว่าการคำนวณ Spread สำหรับสินทรัพย์แต่ละรายการนั้นง่ายนิดเดียวโดยใช้สูตรง่ายๆ ที่คุณเห็นได้จากตัวอย่าง <a href="/th/eur-usd/" target="_blank">EURUSD</a> ที่แสดงด้านล่าง</p> <p> </p> <style type="text/css">.small-view .article-image-01{ width: 100%; } .medium-view .article-image-01{ width: 85%; } .large-view .article-image-01{ width: 80%; } </style> <img alt="สูตรคำนวนส่วนต่างระหว่างราคาที่ผู้ซื้อจะเจอในทุกการเทรด" class="article-image-01" src="/getmedia/598a5ee4-b4b2-454c-a562-195335820286/the-formula-for-calculating-spreads.webp" title="สูตรคำนวนส่วนต่างระหว่างราคาที่ผู้ซื้อจะเจอในทุกการเทรด" width="100%" /> <p> </p> <p>จากตัวอย่างข้างต้น เราเพียงแค่ใช้ราคา Ask แล้วลบด้วยราคา Bid ซึ่งจะได้ 0.00008 ซึ่งเป็นหน่วยราคาที่มีนัยสำคัญตัวที่ 6 ซึ่งเท่ากับ 8 Point<br /> <br /> หากคุณคุ้นเคยกับ Pip มากกว่า ให้หารจุดนั้นด้วย 10 ซึ่งจะทำให้ได้สเปรด 0.8 pip</p> <p> </p> <img alt="หน้าต่างการเทรดของ ThinkMarkets ที่มีการคำนวณ มูลค่า Pip มาร์จิ้น ให้นักเทรด" src="https://images.surferseo.art/f7ec3e09-e181-43c3-88c5-2a7dc38ece3f.png" title="หน้าต่างการเทรดของ ThinkMarkets ที่มีการคำนวณ มูลค่า Pip มาร์จิ้น ให้นักเทรด" width="100%" /> <p> </p> <p>เมื่อพิจารณาจากค่านี้แล้ว เราจะคำนวณได้ว่า 0.8 pip จะมีค่าใช้จ่ายเท่าใด หากเราต้องการเทรด EUR/USD 1 ล็อต เราจะเห็นว่า มูลค่า pip อยู่ที่ $10.00 และด้วยสเปรด 0.8 จะทำให้มีค่าธรรมเนียมสเปรด $8.00 เมื่อทำการซื้อขาย EURUSD 1 ล็อต</p> <h2>ปัจจัยที่ส่งผลต่อ Spread คือ อะไรบ้าง</h2> <p>มีปัจจัยมากมายที่สามารถส่งผลกระทบต่อสเปรดของสินทรัพย์ในการเทรดทั้งในแง่บวกและแง่ลบ<br /> <br /> ราคาสเปรดจะกว้างขึ้นเนื่องจากโบรกเกอร์ไม่สามารถหาผู้ซื้อและผู้ขายที่ตรงกับคำสั่งซื้อขายของคุณได้ ดังนั้นเราจะลงรายละเอียดเพื่อค้นหาปัจจัยต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อสเปรด<br /> </p> <h3>สภาพคล่อง</h3> <p>หมายถึงปริมาณการซื้อขายภายในตลาด โดยในช่วงเวลาต่างๆ ของวัน ซึ่งตลาดมีระดับสภาพคล่องที่แตกต่างกัน อาจส่งผลให้สเปรดสูงขึ้นหรือต่ำลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน<br /> <br /> เช่นในช่วงวันหยุดราชการของประเทศต่างๆ สกุลเงินของประเทศนั้นๆ จะมีสภาพคล่องต่ำลง ซึ่งส่งผลให้สเปรดสูงขึ้น<br /> </p> <h3>เวลาของวัน</h3> <p>ในช่วงนอกเวลาทำการ เราจะเห็นได้ว่าสภาพคล่องลดลงมาก ซึ่งอาจส่งผลให้สเปรดของสินทรัพย์สูงขึ้นด้วย<br /> <br /> ในทางกลับกัน ใน<a href="/th/trading-academy/forex/forex-trading-hours/" target="_blank">ช่วงการซื้อขาย</a> เช่น <strong>ช่วงลอนดอน-นิวยอร์ก</strong>ที่สภาพคล่องอยู่ในจุดสูงสุด ผู้ซื้อขายจะสังเกตเห็นว่าสเปรดในช่วงเวลาดังกล่าวจะลดลงมากเนื่องจากสภาพคล่องและความผันผวนของตลาดสูง<br /> </p> <h3>คู่เงิน</h3> <p>สกุลเงินที่<strong>ซื้อขายกันทั่วไป</strong>จะมีสภาพคล่องสูงกว่า ทำให้โบรกเกอร์จับคู่คำสั่งซื้อและขายได้ง่ายขึ้น ทำให้สเปรดของสินทรัพย์ลดลง<br /> <br /> ตัวอย่างเช่น สกุลเงินที่ซื้อขายมากที่สุด เช่น EURUSD (ยูโร/ดอลลาร์สหรัฐ) มีสเปรดต่ำที่สุดในบรรดาสินทรัพย์ที่ซื้อขายกัน<br /> <br /> อย่างที่เห็นก่อนหน้านี้ว่าสเปรดอยู่ที่ <strong>0.8 pip</strong> เท่านั้นใน<a href="/th/thinktrader/" target="_blank">บัญชี ThinkTrader</a> และต่ำถึง <strong>0 </strong>ใน<a href="/th/zero-account/" target="_blank">บัญชี ThinkZero</a> เมื่อทำการซื้อขายกับ ThinkMarkets<br /> <br /> ในทางกลับกัน หากเทรดเดอร์ทำการซื้อขายคู่สกุลเงินที่ไม่ค่อยนิยมในการเทรด เช่น USDZAR (ดอลลาร์สหรัฐ/แรนด์แอฟริกาใต้) สเปรดจะสูงกว่า EURUSD มาก เนื่องจากคู่สกุลเงินสภาพคล่องต่ำกว่าเนื่องจากมีปริมาณการซื้อขายน้อยกว่า ส่งผลให้โบรกเกอร์จับคู่คำสั่งซื้อได้ยากขึ้น ดังนั้นสเปรดจึงกว้างขึ้น<br /> </p> <h3>Trading Account Type ประเภทบัญชีเทรด</h3> <p>สุดท้ายคือประเภทบัญชี โบรกเกอร์จะจัดเตรียมประเภทบัญชีต่างๆ ตามความต้องการของผู้ซื้อขาย<br /> <br /> ที่ ThinkMarkets บัญชีมาตรฐานของเรามีค่าสเปรดต่ำเมื่อเทียบกับมาตรฐานในวงการโบรกเกอร์ ด้วย<strong>เงินฝากเริ่มต้นเพียง $500</strong> เทรดเดอร์ขายสามารถใช้บัญชี ThinkZero ของเราได้ ซึ่งเทรดเดอร์สามารถใช้บริการ การเทรดด้วยค่าสเปรดที่ต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยคู่เงินอย่าง EURUSD มี<strong>ค่าสเปรดต่ำถึง 0</strong></p> <h2>วิธีเพิ่มผลกำไรให้สูงสุดด้วยค่าสเปรดที่ต่ำในการซื้อขาย Forex</h2> <p>ตอนนี้คุณรู้เกี่ยวกับสเปรดทั้งหมดแล้ว เทรดเดอร์จะนำความรู้เหล่านี้ไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองในการ<a href="/th/trading-academy/forex/basics-of-forex-trading/" target="_blank">ซื้อขาย Forex</a> ได้อย่างไร?<br /> </p> <h3>1. เทรดในช่วงเวลาที่มีการซื้อขายสูง</h3> <p>ดังที่กล่าวไว้ก่อนหน้านี้ เซสชันที่มีปริมาณการซื้อขายสูง เช่น เซสชันลอนดอน นิวยอร์ก และเซสชันลอนดอน-นิวยอร์กที่ทับซ้อนกัน จะทำให้สินทรัพย์มีค่าสเปรดต่ำลงเนื่องจากมีปริมาณการซื้อขายที่ไหลเข้ามาจำนวนมาก<br /> <br /> ดังนั้น จึงง่ายกว่ามากสำหรับโบรกเกอร์ที่จะจับคู่คำสั่งซื้อขายของคุณกับราคาที่ดีกว่าเมื่อเทียบกับการซื้อขายในช่วงที่สภาพคล่องต่ำ เช่น ช่วงนอกเวลาทำการ<br /> </p> <h3>2. เลือกสินทรัพย์สภาพคล่องสูง</h3> <p>สินทรัพย์ที่ซื้อขายกันทั่วไป เช่น คู่สกุลเงินหลัก จะมีสเปรดต่ำที่สุดเมื่อเทียบกับสินทรัพย์อื่นๆ ดังนั้นผู้ซื้อขายที่ซื้อขายคู่สกุลเงิน เช่น EURUSD, USDJPY, GBPUSD เป็นต้น จะมีสเปรดต่ำกว่ามาก ทำให้พวกเขาสามารถประหยัดเงินได้มากในระยะยาวของการซื้อขาย</p> <p> </p> <style type="text/css">.small-view .article-image{ width: 100%; } .medium-view .article-image{ width: 75%; } .large-view .article-image{ width: 70%; } </style> <img alt="รายการเฝ้าดูคู่เงินหลัก" class="article-image" src="/getmedia/00e224d4-95de-4ca0-9e68-38f7928f9a08/major-currency-pair-watchlist.webp" title="รายการเฝ้าดูคู่เงินหลัก" width="100%" /> <p> </p> <h3>3. เลือกโบรกเกอร์ที่มีสเปรดต่ำ</h3> <p>โบรกเกอร์อย่าง <a href="/th/" target="_blank">ThinkMarkets</a> ที่เราให้บริการลูกค้าด้วยสเปรดต่ำเมื่อเทียบกันกับวงการโบรกเกอร์ ทั้งบัญชีมาตรฐานและบัญชี ThinkZero ด้วยสเปรดต่ำถึง 0 pip</p> <img alt="บัญชีซื้อขายมีอยู่ 2 ชนิดให้นักเทรดเลือก" src="/getmedia/586e4e6a-7674-4061-95fd-f712e7c0df8d/two-types-of-trading-accounts-on-thinkmarkets.webp" title="บัญชีซื้อขายมีอยู่ 2 ชนิดให้นักเทรดเลือก" width="100%" /> <h2>บทสรุป</h2> <p>ค่าสเปรดของ Forex คือค่าธรรมเนียมที่เทรดเดอร์จ่ายให้กับโบรกเกอร์เมื่อทำธุรกรรม Spread นี้อาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น สภาพคล่อง เวลาของวัน ปริมาณการซื้อขาย เป็นต้น<br /> <br /> Spread นี้อาจดูเหมือนเป็นค่าธรรมเนียมเล็กน้อยเมื่อพิจารณาจากการซื้อขายเพียงครั้งเดียว แต่เมื่อมองดูในระยะยาวแล้ว Spread เหล่านี้จะรวมกันเป็นเงินก้อนโตได็เลย<br /> <br /> จึงเป็นสิ่งสำคัญที่เทรดเดอร์จะต้องรู้และเลือกบัญชีซื้อขายและสินทรัพย์ซื้อขายที่มีค่าสเปรดต่ำเพื่อลดต้นทุนการซื้อขายของตน ซึ่งโบรกเกอร์ Thinkmarkets อาจเป็นทางเลือกที่ใช่ที่สุดสำหรับคุณ</p> <p> </p>
Swap ในการเทรด forex คืออะไร? วิธีคำนวณอัตราสวอปทำอย่างไร?
<div> <p><strong>ค่า swap</strong> เป็นคำศัพท์การซื้อขายที่เทรดเดอร์ส่วนใหญ่จะเจอแต่ไม่ยังค่อยคุ้นเคย<br /> <br /> คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่าทำไมเมื่อถือการเทรดข้ามคืนจึงมีค่าธรรมเนียมหรือกำไรเพิ่มเติมที่เพิ่มเข้าไปในตำแหน่งการเทรดของคุณ? กำไรและขาดทุนเพิ่มขึ้นมานั้นคือค่า swap ที่จะนำมาคิดรวมสถานะที่คุณเปิดทิ้งไว้ข้ามคืน</p> <h2>1. ค่า Swap คืออะไร</h2> <p><strong>ค่า Swaps คือ</strong>ส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยภายในตลาดฟอเร็กซ์ ค่าส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยนี้เรียกว่า Swap Rate ซึ่งเทรดเดอร์จะต้องจ่ายหรือได้รับค่า Swap นี้เมื่อถือตำแหน่งการซื้อขายข้ามคืน ซึ่งอัตรานี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาตามอัตราดอกเบี้ยของสกุลเงินที่ธนาคารกลางตั้งไว้<br /> <br /> เพื่อให้เข้าใจกลไกเบื้องหลังที่เกิดขึ้นในตลาด forex เทรดเดอร์จะต้องเข้าใจแนวคิดของ "Base Currency/Quote Currency" อย่างลึกซึ้ง</p> <h3>1.1 Swap Long และ Swap Short คืออะไร</h3> <p>ในตลาด forex โครงสร้างของตลาดจะมีการกำกับด้วย “Base Currency/Quote Currency” ดังนั้นใน “EUR/USD” หมายความว่ายูโรเป็นสกุลเงินหลัก และ ดอลลาร์สหรัฐเป็นสกุลเงินอ้างอิง<br /> <br /> <strong>Swaps Long คือ</strong>ค่าธรรมเนียมที่คุณจ่ายสำหรับการยืม “Quote Currency” และดอกเบี้ยที่คุณได้รับจากการถือครอง “Base Currency”<br /> <br /> <strong>Swap Short คือ</strong>ค่าธรรมเนียมที่คุณจ่ายสำหรับการยืม “Base Currency” และดอกเบี้ยที่คุณได้รับจากการถือครอง “Quote Currency”</p> <h3>1.2 ค่า Swap ขึ้นอยู่กับอะไร</h3> <p><strong>ค่า Swap</strong> ขึ้นอยู่กับส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยระหว่างคู่สกุลเงินทั้งสอง ดังนั้นคู่สกุลเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยต่างกันสูงจะให้ค่า swap บวก และ ลบ ขึ้นอยู่กับว่าเป็นการซื้อขายแบบ Long หรือ Short</p> <h2>2. คิดค่า Swap อย่างไร</h2> <p>ค่า Swap (Swap Long/Swap Short) X ขนาด Lot</p> </div> <h3>ตัวอย่างที่ 1</h3> <p>สกุลเงินในพอร์ตโฟลิโอของคุณคือ AUD และคุณถือครองสถานะ Long 1 Lot ของคู่สกุลเงิน AUD/USD ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558:<br /> <br /> +4.96 * 1 = $4.96 แปลงกลับเป็นสกุลเงินในพอร์ตโฟลิโอของคุณ = A$6.35</p> <h3>ตัวอย่างที่ 2</h3> <p>สกุลเงินในพอร์ตโฟลิโอของคุณอยู่ในสกุลเงิน USD และคุณถือสถานะ Short 2.5 Lot ของคู่สกุลเงิน EUR/GBP ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2015:<br /> <br /> -1.08 * 2.5 = -£2.70 แปลงกลับเป็น USD = -$4.13</p> <h2>3. ค่า Swap ของคุณจะถูกคำนวณตอนไหน</h2> <p><strong>ค่า Swap จะคำนวณทุกวัน</strong>ๆ เวลา 16:59 น. ตามเวลานิวยอร์ก หรือ 23:59 น. ตามเวลาแพลตฟอร์ม MetaTrader ของเรา การซื้อขายที่เปิดก่อนเวลา 16:59 น. และเปิดผ่านในครั้งนี้ เทรดเดอร์จะต้องชำระค่า Swap<br /> <br /> ในวันพุธค่า Swap จะเพิ่มขึ้นสามเท่าเมื่อมีการชดเชยวันหยุดสุดสัปดาห์ นี่เป็นขั้นตอนมาตรฐานสำหรับสัญญาการซื้อขายเหล่านี้ อย่างไรก็ตาม หากมีวันหยุดราชการในระหว่างสัปดาห์ค่า Swap จะถูกปรับเพื่อชดเชยวันหยุดเหล่านั้นด้วย</p> <h2>4. ข้อดีและข้อเสียของค่า Swap</h2> <p><strong>ค่า Swap</strong> เป็นได้ทั้งข้อดีและข้อเสียสำหรับเทรดเดอร์ อย่างไรก็ตาม สิ่งนี้มีผลกระทบมากกว่ากับเทรดเดอร์ระยะกลางถึงระยะยาว (เทรดเดอร์ที่ซื้อขายแบบสวิงเทรดและนักลงทุน) ที่พวกเขาถือตำแหน่งการเทรดเป็นเวลานาน โดยทั่วไปแล้ว Scalpers, Intraday และ Day Trader จะไม่ได้รับผลกระทบจากค่า Swap<br /> <br /> Swap สามารถเป็นประโยชน์และข้อเสียเปรียบได้ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของนโยบายการเงินและอัตราดอกเบี้ยในแต่ละสกุลเงิน ดังนั้น หากคุณทำการเทรดบนสินทรัพย์ด้วย<strong>ค่า swap ที่เป็นบวก</strong> ก็สามารถสร้างรายได้เพิ่มได้ หรือการเทรดที่มีค่า swap ที่เป็นลบ ก็ถือเป็นค่าธรรมเนียมเพิ่มเติมได้เช่นกัน<br /> <br /> Swap ยังทำให้มี <strong>“กลยุทธ์การเทรดแบบ Carry Trade”</strong> ซึ่งเทรดเดอร์จะถือตำแหน่งการเทรดโดยคาดการณ์ว่าผลตอบแทนจาก swap ที่เป็นบวกจะมีมูลค่ามากกว่าการสูญเสียมูลค่าของสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น</p> <h2>5. สามารถตรวจสอบค่า Swap ได้ที่ไหน</h2> <p>ค่า Swap สามารถดูได้บนทุกแพลตฟอร์มของเราดังที่แสดงด้านล่าง:<br /> </p> <h3>ThinkTrader</h3> <ol> <li>คลิกที่ "ข้อมูล" ทางด้านขวาของหน้าจอ</li> <li>คลิกที่ "ข้อมูลตลาด" เพื่อขยาย</li> <li>ที่นี่คุณจะเห็น <strong>Swap Long</strong> และ <strong>Swap Short</strong> ในหน้านี้</li> </ol> <p>ที่นี่เราใช้ XAUUSD เป็นตัวอย่าง คุณก็จะเห็นว่า XAUUSD มี Swap Long ที่เป็นลบและ Swap Short เป็นบวก<br /> <br /> ซึ่งหมายความว่าการถือการเทรดฝั่ง Long จำนวน 1 Lot ข้ามคืน เทรดเดอร์จะต้องจ่ายค่า Swap มูลค่า 38.377 ดอลลาร์ อย่างไรก็ตาม คุณจะเห็นได้ว่าหากคุณถือการซื้อฝั่ง Short จำนวน 1 Lot เดียวกันข้ามคืนแทน เทรดเดอร์จะได้รับเงิน 18.573 ดอลลาร์เป็นค่า Swap</p> <p><br /> <img alt="ตรวจสอบค่าธรรมเนียม swap ฟอเร็กซ์บน Thinktrader" src="/getmedia/c8bfe795-06df-4ccd-a1a5-ddbaaa093d8c/check-forex-swap-fees-on-thinktrader.png" title="ตรวจสอบค่าธรรมเนียม swap ฟอเร็กซ์บน Thinktrader" width="50%" /></p> <h3><br /> <br /> MT4 / MT5</h3> <ol> <li>คลิกที่ “View” บนแท็บด้านบน</li> <li>เลือก “Symbols”</li> <li>คลิกสินทรัพย์ที่คุณต้องการตรวจสอบค่า Swap</li> <li>เลื่อนลงเพื่อตรวจสอบค่า Swap ซึ่งแสดงอยู่เหนือหัวข้อ "<strong>Swap Rates</strong> "</li> </ol> <p> <br /> <img alt="ตรวจสอบค่าธรรมเนียม swap ฟอเร็กซ์บน MT4 และ MT5" src="/getmedia/4c35b7c3-99e4-4499-80b3-a974ba8ec197/check-forex-swap-fees-on-mt4-mt5.png" title="ตรวจสอบค่าธรรมเนียม swap ฟอเร็กซ์บน MT4 และ MT5" width="100%" /></p> <h2>6. บทสรุป</h2> <p>โดยสรุป<strong>ค่า Swap</strong> คือค่าธรรมเนียมที่เทรดเดอร์จ่ายหรือได้รับเมื่อถือสถานะการค้าข้ามคืน โดยพื้นฐานแล้วมันคือต้นทุนการกู้ยืมและการให้ยืมซึ่งเทรดเดอร์จะจ่ายหรือได้รับจากตลาด<br /> <br /> จะมองว่าเป็นข้อดีหรือข้อเสียก็ได้ตามมุมมองของเทรดเดอร์ สำหรับเทรดเดอร์บางราย นี่อาจเป็นค่าธรรมเนียมเพิ่มเติม แต่สำหรับเทรดเดอร์บางราย นี่เป็นอีกวิธีหนึ่งในการหารายได้พิเศษ เนื่องจากมีสินทรัพย์หลายรายการที่มีค่า Swap เป็นบวก และมีเทรดเดอร์จำนวนมากที่สามารถใช้ประโยชน์จากหน้าต่างแห่งโอกาสนี้ได้</p>
Margin Call ในการซื้อขายฟอเร็กซ์คืออะไร? คำอธิบายที่ครอบคลุมสำหรับมาร์จิน
<p><strong>มาร์จิ้นคอล (Margin call)</strong> เป็นคำที่เทรดเดอร์ในตลาดฟอเร็กซ์ต้องรู้จัก หากคุณยังไม่เข้าใจความหมาย บทความนี้จะช่วยอธิบายตั้งแต่ความหมายของมาร์จิ้นคอล, Used Margin (ยอดเงินที่ใช้เป็นมาร์จิ้น) และ Free Margin (มาร์จิ้นที่ใช้งานได้) รวมถึงวิธีการทำงานของมัน</p> <p>เราจะอธิบายการทำงานพื้นฐานของมาร์จิ้น โดยทำความเข้าใจว่า Margin Call คืออะไร, <strong>ประเภทต่างๆ ของมาร์จิ้น</strong>, วิธีแยก Used Margin กับ Free Margin, การคำนวณ Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) และวิธีที่เทรดเดอร์จะหลีกเลี่ยงมาร์จิ้นคอล โดยจะอธิบายให้ง่ายและเข้าใจได้สำหรับคุณ.<br /> <br /> ในระหว่างนี้ เทรดเดอร์มือใหม่ส่วนใหญ่ยังไม่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเทรดด้วยมาร์จิ้นและเลเวอเรจ ทางเรามีบทความ <a href="/th/trading-academy/terminologies/leverage-and-margin">เลเวอเรจ & มาร์จิ้น</a> บนหน้าเว็บทางการของเรา เพื่อให้คุณเข้าใจบทความนี้ ได้ง่ายขึ้น<br /> </p> <h2>1. Margin Call (มาร์จิ้นคอล) คืออะไร?</h2> <p>ในการเทรดฟอเร็กซ์ <strong>Margin call (มาร์จิ้นคอล)</strong> เป็นคำที่อธิบายเงื่อนไขเมื่อที่มูลค่าสุทธิ (Account Equity + Floating Profit/Loss) ในบัญชีของเราอยู่ต่ำกว่าระดับมาร์จิ้นขั้นต่ำ ที่จำเป็นในการดำรงตำแหน่งเทรดปัจจุบัน</p> <p><br /> <strong>เมื่อเปอร์เซ็นต์ของระดับมาร์จิ้นต่ำกว่ามาร์จิ้นขั้นต่ำที่โบรกเกอร์กำหนด</strong> โบรกเกอร์จะเริ่มการ Margin call (มาร์จิ้นคอล) ซึ่งเทรดเดอร์จะต้องตัดสินใจว่าจะปิดสถานะการเทรดอันไหน เพื่อจะลดมาร์จิ้นที่ใช้ไป หรือ จะฝากเงินเพิ่มเติมเพื่อเพิ่ม Free Margin (มาร์จิ้นที่ใช้งานได้) ส่วนของบัญชี</p> <p><br /> หากเทรดเดอร์ไม่สามารถเพิ่มเติม Equity (สินทรัพย์สุทธิ) หรือ ไม่สามารถปิดสถานะการเทรดบางรายการได้ โบรกเกอร์จะต้องทำการ Liquidation (ชำระบัญชี)<br /> <br /> Liquidation (ชำระบัญชี/ล้างพอร์ต) คือการที่ทางโบรกเกอร์จะเริ่มปิดเทรดจากออเดอร์ที่ติดลบมากที่สุดก่อนจนกว่า Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) อยู่ในระดับที่ปลอดภัย เพื่อให้แน่ใจว่าการขาดทุนในบัญชีนั้นสามารถ ได้รับการคุ้มครองด้วยเงินในบัญชีของเทรดเดอร์เพื่อป้องกันการสูญเสียเพิ่มเติมกับบัญชีของเทรดเดอร์กับเงินทุนของโบรกเกอร์</p> <p><br /> แต่ล่ะโบรกเกอร์จะมีระดับ Margin Call (มาร์จิ้นคอล) ที่แตกต่างกันไปโดยส่วนมากจะอยู่ในระดับระหว่าง 25% - 100%, จากโบรกเกอร์ ThinkMarkets ใช้ระดับ Margin Call (มาร์จิ้นคอล) อยู่ที่ <strong>100%</strong> ซึ่งอยู่ในระดับที่ไม่มากเกินไปว่ามันจะเกิดขึ้นบ่อยครั้ง แต่ก็ไม่น้อยเกินไปที่โบรกเกอร์จะเสี่ยงต่อการขาดทุน<br /> <br /> หากต้องการเรียนรู้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวคิดของการ Margin Call (มาร์จิ้นคอล) เราต้องรู้เกี่ยวกับตรรกะเบื้องหลังของ Margin (มาร์จิ้น) กันก่อน ในย่อหน้าถัดไป เราจะแนะนำประเภทของมาร์จิ้นให้กับคุณ เพื่อที่คุณจะได้มีแนวคิดโดยย่อเกี่ยวกับมาร์จิ้นที่เราพูดถึงในบทความของเรา<br /> </p> <h2>2. มาร์จิ้นมีอยู่กี่ประเภท?</h2> <p>ก่อนที่เราจะเขาสู่หัวข้อของ Margin call เทรดเดอร์จำเป็นที่ต้องเข้าใจฟังก์ชันที่แตก<strong>ต่างกันของหลักประกันทั้งสองประเภท</strong> ซึ่งก็คือ<br /> </p> <ul style="padding-left: 50px;"> <li>Used Margin (ยอดเงินที่ใช้เป็นมาร์จิ้น)</li> <li>Free Margin (มาร์จิ้นที่ใช้งานได้)</li> </ul> <p> </p> <p>เนื่องจากการทำความเข้าใจการคำนวณจะช่วยให้เทรดเดอร์สามารถประมาณระดับมาร์จิ้นและช่วยเทรดเดอร์จัดการความเสี่ยงเมื่อเทรดเดอร์เทรดด้วยตัวเองได้แม่นยำขึ้นแน่นอน<br /> </p> <h2>3. Used Margin (ยอดเงินที่ใช้เป็นมาร์จิ้น) คืออะไร?</h2> <p>"<strong>Used Margin</strong>" หรือ "<strong>ยอดเงินที่ใช้เป็นมาร์จิ้น</strong>" เป็นส่วนของทุน (Equity) ที่เทรดเดอร์มีอยู่ในบัญชีการซื้อขายของตนที่ถูกใช้เป็นหลักประกันสำหรับการเปิดทำเทรด Used Margin นี้จะได้รับผลกระทบจากเลเวอเรจและขนาดของสัญญาการซื้อขาย สามารถคำนวณได้ตามสูตรดังนี้:<br /> <br /> <img alt="สูตรมาร์จิ้นส" src="/getmedia/e5449986-953a-43bb-b6d0-1bca6d63339f/used-margin-formula.webp" style="width:100%" title="สูตรมาร์จิ้นส" /><br /> <br /> ตัวอย่างเช่น หากเทรดเดอร์เปิดการเทรดที่มูลค่า $100,000 ด้วยเลเวอเรจ 1:200 ยอดเงินที่ใช้เป็นมาร์จิ้นสามารถคำนวณได้ตามที่แสดงด้านล่าง<br /> <br /> <img alt="การคํานวณมาร์จิ้นที่ใช้" src="/getmedia/2d00b55c-24a4-4fa7-a96e-611e8e7ef5d4/used-margin-calculation.webp" style="width:60%" title="การคํานวณมาร์จิ้นที่ใช้" /><br /> <br /> อย่างที่ท่านเห็นยอดเงินที่ใช้เป็นมาร์จิ้นเพื่อเปิดเทรดนี่จะอยู่ที่ $500 และเงินจำนวนนี่จะถูกเอามาเป็นหลักประกันสำหรับการเปิดเทรดที่มีมูลค่า $100,000<br /> </p> <h2>4. Free Margin (มาร์จิ้นที่ใช้งานได้) คืออะไร?</h2> <p>Free Margin คือจำนวนเงินในบัญชีของเทรดเดอร์ซึ่งไม่ได้เชื่อมโยงกับสถานะการเทรดใดๆ และสามารถคำนวณโดย<br /> <br /> </p> <p style="font-size:19px"><em>Free Margin</em> (มาร์จิ้นที่ใช้งานได้) = สินทรัพย์สุทธิ – ยอดเงินที่ใช้เป็นมาร์จิ้น</p> <p><br /> <br /> ในตัวอย่างนี้ มูลค่าสินทรัพย์สุทธิในบัญชีของเทรดเดอร์อยู่ที่ $10,000 และผู้ซื้อขายเปิดสถานะการเทรดที่มีมูลค่าอยู่ที่ $100,000 พร้อมด้วยเลเวอเรจ 1:200 Used Margin (ยอดเงินที่ใช้เป็นมาร์จิ้น) จะเป็น $500 ตามที่คำนวณไว้ก่อนหน้านี้ <strong>Free Margin (มาร์จิ้นที่ใช้งานได้)</strong> ที่เหลืออยู่ในบัญชีสามารถคำนวณได้ตามนี้<br /> </p> <p><img alt="การคำนวณมาร์จิ้นที่ใช้งานได้" src="/getmedia/f49f00ba-ebd7-473f-b0c2-319f4fb4c47d/free-margin-calculation.webp" style="width:80%" title="การคำนวณมาร์จิ้นที่ใช้งานได้" /><br /> <br /> <strong>Free Margin (มาร์จิ้นที่ใช้งานได้)</strong> ที่เหลือนี้สามารถปล่อยไว้ตามลำพังเพื่อรักษาระดับมาร์จิ้นของบัญชี หรือใช้เพื่อเปิดสถานะการเทรดใหม่ตามกลยุทธ์ของเทรดเดอร์<br /> <br /> <img alt="ตัวชี้วัด มาร์จิ้นของบัญชี" src="/getmedia/84931f5c-bca6-4aa9-b52a-251cc1e6a590/account-margin-metrics.webp" style="width:100%" title="ตัวชี้วัด มาร์จิ้นของบัญชี" /><br /> <br /> Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) เป็นตัวบ่งชี้ว่า Equity (สินทรัพย์สุทธิ) ในบัญชีถูกผูกไว้กับออเดอร์เทรดไว้ในตลาดมากเท่าใหร่ ซึ่งเราจะอทิบายให้กระจ่างในหัวข้อถัดไป<br /> </p> <h2>5. Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) คืออะไร?</h2> <p>ตามที่เราได้เกริ่นก่อนหน้านี้ว่า <strong>Margin Level หรือ ระดับมาร์จิ้น</strong> นั้นเป็นตัวบ่งชี้ของอัตตราส่วนว่า Equity (สินทรัพย์สุทธิ) ของบัญชีเทรดเดอร์นั้นเป็นกี่เท่าของ Used Margin (ยอดเงินที่ใช้เป็นมาร์จิ้น) Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) นั้นสามารถคำนวนเป็นเปอร์เซ็นต์ตามสูตรคำนวนด้านล่างได้เลย<br /> <br /> <img alt="สูตรระดับมาร์จิ้น" src="/getmedia/d3b8cfc3-3ee1-4f2d-afaa-b547fe9413cb/margin-level-formula.webp" style="width:100%" title="สูตรระดับมาร์จิ้น" /> <br /> <br /> จากตัวอย่างก่อนหน้านี้เราสามารถคำนวนด้วย<strong>สูตร Margin Level (ระดับมาร์จิ้น)</strong> ตามการคำนวนด้านล่าง<br /> <br /> <img alt="การคำนวณระดับมาร์จิ้น" src="/getmedia/30a0e95e-3813-4fea-a2b7-bed61032127c/margin-level-calculation.webp" style="width:80%" title="การคำนวณระดับมาร์จิ้น" /><br /> <br /> จากสูตรการคำนวนเราก็จะได้ Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) อยู่ที่ 2000% ซึ่งหมายอัตตราส่วนของ สินทรัพย์สุทธิเทียบกับยอดเงินที่ถูกใช้เป็นมาร์จิ้นเป็นอยู่ที่ 20 เท่า ซึ่ง Margin Level ก็เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือที่จะช่วยให้นักลงทุนสามารถประมาณการว่าพอร์ตโฟลิโอของเทรดเดอร์เหลือความยื่ดหยุ่นมากแค่ไหน<br /> </p> <h2>6. ระดับมาร์จิ้นที่ปลอดภัยควรอยู่ที่เท่าไหร?</h2> <p>ตอนนี้เราได้ครอบคลุมหัวข้อ Margin Call (มาร์จิ้นคอล) แล้ว มาเรียนรู้กันต่อว่าเทรดเดอร์สามารถป้องกันไม่ให้ตัวเองตกอยู่ในสถานการณ์นี้ได้อย่างไร เนื่องจากเราทุกคนรู้ดีว่ากันไว้ดีกว่าแก้ ดังนั้นเรามาเรียนรู้วิธีปกป้องบัญชีของเราจากการถูก Margin Call (มาร์จิ้นคอล) กัน<br /> <br /> นี่คือตัวอย่างของสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในการซื้อขายจริงซึ่งอาจทำให้เกิดการ Margin Call (มาร์จิ้นคอล) ได้<br /> <br /> <img alt="สถานการณ์การเรียกหลักประกัน" src="/getmedia/dd479652-7a2d-4f52-8d79-fb0d6512d4ef/margin-call-scenario.webp" style="width:100%" title="สถานการณ์การเรียกหลักประกัน" /><br /> <br /> ในตัวอย่างนี้ เราเห็นว่าบัญชีตัวอย่างก่อนหน้านี้เกิดการขาดทุนหนักซึ่งทำให้มูลค่าของ Equity (สินทรัพย์สุทธิ) ลดลงมาอยู่ในระดับที่ถูก Margin Call (มาร์จิ้นคอล) ได้ จากสูตรคำนวนก่อนหน้านี้เราสามารถคำนวน Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) ของบัญชี ณ ขณะนี้ได้<br /> <br /> <img alt="การคำนวณระดับมาร์จิ้น" src="/getmedia/c56bc5f0-8fc7-4bc7-bd5d-28fb1258d961/margin-level-calculation-2.webp" style="width:80%" title="การคำนวณระดับมาร์จิ้น" /><br /> <br /> อย่างที่เห็นเมือเรานำส่วนที่ขาดทุนมาคิดรวมกับ Equity (สินทรัพย์สุทธิ) เทรดเดอร์จะพบว่า Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) นั้นตกลงมาต่ำกว่าที่ 100% แล้ว ซึ่งจะโดน Margin (มาร์จิ้นคอล) แน่นอนและอาจจะลามไปถึงการ Liquidation (ชำระบัญชี/ล้างพอร์ต) ได้<br /> <br /> แล้วเราจะป้องกันไม่ให้เราตกอยู่ในสถานการณ์นี้ได้อย่างไร?<br /> </p> <h3>6.1 เทรดโดยมีจุดตัดขาดทุน</h3> <p>อย่างแรกเลยคือการมี Stop Loss (จุดตัดขาดทุน) ไม่ว่าจะเป็นการ กดปิดออเดอร์เอง (ปิดมือ) ที่ระดับที่เราวางแผนไว้ หรือ จะตั้ง Stop Loss ให้เทรดปิดเองอัตโนมัติ ทั้งสองวิธีเป็นป้องกันไม่ให้เงินทุนของเทรดเดอร์เสียหายหนักจากการถือและปล่อยให่ออเดอร์ที่ขาดทุนลากจนเงินในพอร์ทท่านหมด</p> <h3>6.2 รู้ว่าเทรดเดอร์ยอมรับความเสี่ยงได้มากแค่ไหน</h3> <p>อย่างที่สองคือการกำหนดระดับความเสี่ยงที่ท่านสามารถยอมรับได้ ตัวอย่างเช่น หากเทรดเดอร์จะเสี่ยง 2% ของพอร์ตโฟลิโอของเทรดเดอร์ต่อการเทรด เทรดเดอร์สามารถคำนวณขนาดล็อตของคำสั่งซื้อขายของเทรดเดอร์ก่อนที่จะเข้าสู่การซื้อขายเพื่อรักษาผลกำไรและขาดทุนของเทรดเดอร์ให้คงที่</p> <p> <br /> <img alt="การบริหารความเสี่ยงในตำแหน่ง" src="/getmedia/9528eeba-0d7e-448c-888d-c4cd8b5327af/position-risk-management.webp" style="width:100%" title="การบริหารความเสี่ยงในตำแหน่ง" /><br /> <br /> ตามภาพด้านบนอย่างที่เทรดเดอร์เห็นออเดอร์เทรดทั้งคู่มีมีจำนวน Pip ที่ค่อนค่างแตกต่างกัน ในจุดทำกำไร & จุดตัดขาดทุน<br /> <br /> แต่เทรดเดอร์ก็สามารถใช้ Lot Size ที่ต่างกันเพื่อให้จำนวนกำไรและขาดทุนมีขนาดที่เท่ากัน ถึงเทรดเดอร์บางท่านอาจจะบอกว่าท่านต้องการกำไรที่สูงและการขาดทุนที่ต่ำ แต่ท่านต้องมองในมุมกลับด้วยว่ามันก็จะมีครั้งที่ท่านเสียหายหนักและได้กำไรเพียงนิดเดียวซึ่งจะไม่สามารถครอบคลุมการเสียหายก่อนหน้าได้</p> <h3>6.3 รักษาระดับมาร์จิ้นให้อยู่ในระดับที่ดี</h3> <p>Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) ที่ถือว่าอยู่ในระดับที่ปลอดภัยควรเหลือสูงกว่าประมาณ 150 - 200% เนื่องจากมีระดับการรองรับก่อนที่จะตกลงไปสู่ระดับ Margin Call (มาร์จิ้นคอล)</p> <br /> <br /> <span style="color: rgb(51, 51, 51);">ในการเทรดท่านอาจจะโชคดีครั้งสองครั้งได้ แต่ถ้าท่านไม่มีการควบคุมความเสี่ยงที่ดี และ ระบบเทรดที่คงที่ ใช้เวลาไม่นานที่ท่านจะคืนกำไรกลับสู่ตลาดพร้อมกับขาดทุนเพิ่มเติมด้วย</span> <p> <br /> ดังนั้น การมี Stop Loss (จุดตัดขาดทุน) มีความเสี่ยงที่เหมาะสมต่อการซื้อขาย และไม่เทรดด้วยขนาดออเดอร์ที่ใหญ่มากเกินไป (Overtrade) เทรดเดอร์จะสามารถรักษา Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) ที่สูงได้อย่างง่ายดาย<br /> </p> <h2>7. บทสรุป</h2> <p><strong>Margin Call (มาร์จิ้นคอล)</strong> จะเกิดขึ้นเมื่อ Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) ตกลงไปต่ำกว่าระดับที่โบรกเกอร์กำหนด, ที่ <a href="/th/" target="_blank">ThinkMarkets</a><a href="/th/"> </a>ระดับ Margin Call level ถูกตั้งไว้ที่ 100% เพื่อดำรงตำแหน่งการเทรดปัจจุบัน (มาร์จิ้นที่ใช้)<br /> <br /> เมื่อทุนรวม (Net Equity) ต้ำกว่าเวลา Margin Call (มาร์จิ้นคอล) เกิดขึ้นทางโบรกเกอร์จะแจ้งให้เทรดเดอร์ปิดสถานะบางสถานะ หรือ เพิ่ม Equity (สินทรัพย์สุทธิ) เพิ่มเติมมิฉะนั้นนั้นโบรกเกอร์จะต้อง Liquidate (ชำระบัญชี/ ล้างพอร์ต) สถานะการเทรดที่เปิดอยู่โดยเริ่มจากตำแหน่งที่ขาดทุนมากที่สุดจนกว่ามาร์จิ้นจะอยู่ในระดับที่สูงกว่า Margin Call (มาร์จิ้นคอล) ได้อีกครั้ง<br /> <br /> อย่างไรก็ตาม เทรดเดอร์สามารถป้องกันตัวเองจากการโดน Margin Call (มาร์จิ้นคอล) ได้โดยใช้ Stop loss เพื่อป้องกันการเสียหายหนัก มีการบริหารความเสี่ยงที่ระบบท่านกำหนดไว้ และ ไม่เทรดด้วยขนาดออเดอร์ที่ใหญ่มากเกินไป (Overtrade) และ เทรดตามระบบการเทรดของท่าน<br /> <br /> หากเทรดเดอร์นำแนวทางในบทความไปประสมประสานกับระบบเทรดขอนท่าน เทรดเดอร์จะสามารถรักษาระดับมาร์จิ้นที่ปลอดภัยอยู่ที่ประมาณ 150% หรือสูงกว่านั้นได้อย่างสบายๆ การที่มี Margin Level (ระดับมาร์จิ้น) อยู่ในระดับที่ปลอดภัยที่จะช่วยสร้างความมั่นใจในความปลอดภัยของบัญชีเทรดของท่านและป้องกันการโดนล้างพอร์ตได้<br /> </p>
Copy Trade ของ ThinkCopy คืออะไรและทำงานอย่างไรในตลาด?
<p>Copy Tradeเป็นกลยุทธ์การเทรดในตลาดการเงินที่ช่วยให้นักลงทุนสามารถคัดลอกการเทรดของนักลงทุนมืออาชีพรายอื่นได้โดยอัตโนมัติ ด้วยระบบ Copy Trade ไม่ว่าคุณจะเป็นนักลงทุนมือใหม่หรือไม่ค่อยมีเวลา คุณก็สามารถสร้างกำไรในตลาดได้อย่างง่ายดายผ่านการคัดลอกการเทรด นอกจากนี้ หากคุณเป็นเทรดเดอร์มืออาชีพ คุณก็สามารถรับคอมมิชชั่นจากการถูกคัดลอกได้<br /> <br /> แล้วเราจะเริ่มคัดลอกการเทรดได้อย่างไร บทความนี้จะอธิบายความรู้พื้นฐานในการใช้ <a href="http://www.thinkmarkets.com/th/thinkcopy/">ThinkCopy</a> อย่างละเอียดจากมุมมองของผู้ติดตามและบุคคลที่ถูกติดตาม<br /> </p> <h2>Copy Trading คืออะไร?</h2> <p><br /> จุดประสงค์ของสิ่งที่เรียกว่า Copy Trading หรือที่เรียกอีกอย่างว่าการคัดลอกการเทรด คือเพื่อให้ผู้ลงทุนสามารถคัดลอกการเทรดของเทรดเดอร์รายอื่นได้ กลยุทธ์การเทรดนี้ได้รับความนิยมอย่างมากในตลาด Forex เนื่องจากเป็นวิธีแก้ปัญหาที่สะดวกสำหรับเทรดเดอร์มือใหม่และผู้ที่ไม่มีเวลาติดตามตลาด<br /> <br /> การคัดลอกการเทรดนั้นแบ่งออกเป็นสองโหมดหลัก:<br /> </p> <ul> <li><strong>การคัดลอกด้วยตนเอง</strong>: นักลงทุนจำเป็นต้องสังเกตการกระทำของเทรดเดอร์ที่ตนเลือกด้วยตนเอง และดำเนินการเทรดด้วยตนเอง วิธีนี้ช่วยให้นักลงทุนมีทางเลือกที่ยืดหยุ่นมากขึ้น</li> <li><strong>การคัดลอกอัตโนมัติ</strong>: เมื่อคุณเลือกเทรดเดอร์ที่จะติดตาม ระบบจะซิงค์การดำเนินการเทรดทั้งหมดของพวกเขาไปยังบัญชีของคุณโดยอัตโนมัติ ข้อดีที่ใหญ่ที่สุดของการติดตามอัตโนมัติคือความสะดวกและความทันท่วงที</li> </ul> <p><br /> พูดอย่างง่ายๆ การคัดลอกด้วยมือนั้นเหมาะสำหรับนักลงทุนที่ต้องการมีส่วนร่วมสูงและมีพื้นที่ในการดำเนินการมากขึ้น การคัดลอกอัตโนมัติเป็นตัวเลือกที่มีประสิทธิภาพสำหรับนักลงทุนที่ต้องการลดภาระในการดำเนินการและใช้ประโยชน์จากความรู้ของเทรดเดอร์มืออาชีพ</p> <p><br /> ต่อไป เราจะพาคุณไปค้นพบแพลตฟอร์มการคัดลอกที่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับตลาดฟอเร็กซ์</p> <h2>วิธีการเลือกแพลตฟอร์มการคัดลอกเทรด</h2> <p>ในการเทรดแบบคัดลอก การเลือกแพลตฟอร์มที่เหมาะสมถือเป็นสิ่งสำคัญ แพลตฟอร์มที่เหมาะสมไม่เพียงแต่ส่งผลต่อประสบการณ์การเทรดของคุณเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับผลตอบแทนจากการลงทุนของคุณด้วย แพลตฟอร์มการเขียนบทความที่ดีควรมีลักษณะดังต่อไปนี้:<br /> </p> <ul> <li>สภาพแวดล้อมการเทรดที่มั่นคง</li> <li>ผู้ให้บริการสัญญาณหลากหลายให้เลือก</li> <li>อินเทอร์เฟซผู้ใช้ที่เรียบง่ายและสะดวกสบาย</li> </ul> <p><br /> จากปัจจัยต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น แพลตฟอร์มการคัดลอก ThinkCopy ของ ThinkMarkets จึงกลายเป็นตัวเลือกที่แนะนำ เนื่องจากมีอินเทอร์เฟซที่ใช้งานง่ายและใช้งานง่าย ทำให้แม้แต่เทรดเดอร์ Forex มือใหม่ก็สามารถเริ่มต้นได้อย่างง่ายดาย</p> <p><br /> ผู้ใช้เพียงดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ ThinkCopy ลงในโทรศัพท์มือถือของตนผ่านขั้นตอนต่อไปนี้ก็สามารถใช้ฟังก์ชันนี้ได้อย่างง่ายดาย<br /> </p> <h3><strong>ขั้นตอนที่ 1</strong></h3> <p>ดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ ThinkCopy ผ่านทาง <a href="https://apps.apple.com/th/app/thinkcopy/id1663454570">Apple App Store</a> หรือ <a href="https://play.google.com/store/apps/details?id=com.thinkmarkets.thinkcopy&hl=th">Google Play Store</a></p> <h3><strong>ขั้นตอนที่ 2</strong></h3> <img alt="ดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ ThinkCopy สำหรับโทรศัพท์มือถือ" src="/getmedia/c1256918-8023-418e-98f0-11eae40f5b3c/Mobile-phone-ThinkCopy-software-download.webp" title="ดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ ThinkCopy สำหรับโทรศัพท์มือถือ" width="100%" /> <p><br /> คลิกเพื่อเข้าสู่ระบบซอฟต์แวร์ ThinkCopy ผู้ใช้ที่มีบัญชี ThinkMarkets อยู่แล้วสามารถเชื่อมต่อบัญชีของตนกับ ThinkCopy ได้โดยตรง เทรดเดอร์ที่ยังไม่มีบัญชีสามารถคลิกที่ด้านล่างของหน้าเพื่อลงทะเบียนบัญชีได้ฟรี<br /> </p> <p>หลังจากเข้าสู่ระบบแล้ว ให้คลิก "บัญชี" ที่มุมขวาล่าง จากนั้นคลิก "เชื่อมโยงบัญชี"<br /> </p> <p>จากนั้นป้อนบัญชีและรหัสผ่าน ThinkCopy ของคุณ และเลือก "คัดลอกการเทรด" หรือ "ให้สัญญาณการเทรด" เพื่อเชื่อมต่อกับบัญชี ThinkCopy ของคุณ<br /> </p> <p>ต่อไปเราจะใช้แพลตฟอร์มการคัดลอก ThinkCopy เป็นตัวอย่างเพื่ออธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการดำเนินการคัดลอกที่มีประสิทธิผลจากมุมมองของผู้เขียนบทและผู้ให้สัญญาณ<br /> </p> <h2>วิธีการคัดลอกเทรดด้วย ThinkCopy</h2> <img alt="คัดลอกการเทรดด้วย ThinkCopy" src="/getmedia/109c44c7-09ac-4e75-a62e-a36a0c5677a7/copy-trades-with-ThinkCopy.webp" title="คัดลอกการเทรดด้วย ThinkCopy" width="100%" /> <p><br /> <br /> หลังจากเชื่อมต่อบัญชี ThinkCopy ของคุณสำเร็จแล้ว คุณสามารถเริ่มคัดลอกการเทรดได้ โดยคลิก "ค้นพบ" ที่มุมล่างซ้ายของอินเทอร์เฟซ และกรองผู้ให้สัญญาณที่มีผลตอบแทนสูงกว่าผ่านอัตราการชนะสำหรับการคัดลอกการเทรด<br /> </p> <p>คลิกที่ชื่อผู้ให้สัญญาณเพื่อไปที่โฮมเพจของเขา ในโฮมเพจ ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลการเทรดโดยละเอียดของผู้ให้สัญญาณ รวมถึงอัตราผลตอบแทน จำนวนผู้คัดลอกเทรดเดอร์ ค่าธรรมเนียมผลงาน ฯลฯ<br /> </p> <p>หลังจากประเมินเสร็จแล้ว ผู้ใช้สามารถเริ่มคัดลอกการดำเนินการของเทรดเดอร์ที่เลือกได้โดยคลิก "คัดลอก" ผู้ใช้สามารถเลือกการตั้งค่าล็อตการเทรดที่แตกต่างกันได้:<br /> </p> <ul> <li>ขนาดล็อตคงที่</li> <li>สอดคล้องกับสัญญาณต่อไปนี้</li> <li>กระจายตามสัดส่วนของมูลค่าสุทธิของบัญชี</li> </ul> <p><img alt="คำสั่งการคัดลอกการเทรด" src="/getmedia/50d83ca0-7dc8-417d-865f-4159d01d6e07/copy-trading-order-operation.webp" title="คำสั่งการคัดลอกการเทรด" width="100%" /></p> <p><br /> <br /> หลังจากส่งคำสั่งคัดลอกแล้ว ผู้ใช้สามารถเลือกที่จะตั้งค่าการย้อนกลับสูงสุดและปรับระดับการหยุดขาดทุนได้อย่างอิสระ เมื่อบัญชีถึงระดับการหยุดขาดทุนแบบอ่อน บัญชีจะหยุดติดตามคำสั่ง เมื่อถึงระดับการหยุดขาดทุนแบบแข็ง สถานะทั้งหมดจะถูกปิดทันที<br /> </p> <p>หลังจากเริ่มติดตามคำสั่งแล้ว ผู้ใช้สามารถคลิก "สถานะ" ด้านล่างเพื่อดูยอดคงเหลือในบัญชี กำไรและขาดทุนที่ลอยตัว สถานะปัจจุบัน คำสั่งที่รอดำเนินการ และข้อมูลอื่น ๆ<br /> </p> <h2>คู่มือผู้ให้สัญญาณ ThinkCopy</h2> <p><br /> หากผู้ใช้เลือก "ให้สัญญาณการเทรด" เมื่อเข้าสู่ระบบ เขาก็จะกลายเป็นผู้ให้สัญญาณและสามารถเพิ่มรายได้ของเขาได้โดยการเก็บคอมมิชชันจากผู้ติดตาม</p> <br /> <img alt="คู่มือผู้ให้สัญญาณ ThinkCopy" src="/getmedia/fc4b8a8e-2aac-4c72-b7ea-ab344373237c/Thinkcopy-manual-signal-provider.webp" title="คู่มือผู้ให้สัญญาณ ThinkCopy" width="100%" /> <p><br /> ผู้ใช้สามารถคลิก "คอมมิชชัน" เหนือบัญชีเพื่อปรับเปอร์เซ็นต์คอมมิชชัน หากสมมติว่าคอมมิชชันอยู่ที่ 20% ผู้ใช้จะเรียกเก็บ 20% ของกำไรของผู้ติดตามทั้งหมดเป็นคอมมิชชัน<br /> </p> <p>ผู้ให้สัญญาณสามารถเข้าสู่อินเทอร์เฟซการเทรดได้โดยคลิก "การเทรด" ด้านล่าง<br /> </p> <h2>เริ่มต้นการเดินทางการเทรดแบบคัดลอก ThinkCopy ของคุณ</h2> <p>คุณพร้อมที่จะบรรลุเป้าหมายการลงทุนของคุณในตลาด Forex แล้วหรือยัง? แพลตฟอร์มการคัดลอก ThinkCopy เป็นตัวเลือกที่เหมาะสำหรับคุณ ไม่ว่าคุณจะเป็นเทรดเดอร์มือใหม่หรือเป็นนักลงทุนที่มีประสบการณ์ ThinkCopy ก็สามารถมอบประสบการณ์การคัดลอกการเทรดที่เรียบง่าย มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยให้กับคุณได้</p> <p>เหตุใดจึงควรเลือก ThinkCopy?<br /> </p> <ul> <li>รับแพลตฟอร์มการเทรดที่ใช้งานง่ายและเป็นมิตรกับผู้ใช้</li> <li>เข้าถึงผู้ให้สัญญาณที่หลากหลายเพื่อตอบสนองรูปแบบและกลยุทธ์การลงทุนที่แตกต่างกัน</li> <li>ปกป้องการลงทุนของคุณด้วยเครื่องมือการจัดการความเสี่ยงขั้นสูง</li> <li>เพลิดเพลินกับทรัพยากรการศึกษาอย่างต่อเนื่องและการสนับสนุนจากชุมชนเพื่อพัฒนาทักษะการเทรดของคุณ</li> </ul> <p><br /> ดาวน์โหลดซอฟต์แวร์ Think Copy ทันทีและเริ่มต้นเส้นทางการเทรดแบบคัดลอกของคุณ ด้วย Wisdom คุณสามารถควบคุมพลวัตของตลาด คัดลอกกลยุทธ์ของเทรดเดอร์ที่ประสบความสำเร็จ และตระหนักถึงโอกาสในการทำกำไรที่อาจเกิดขึ้นได้</p>
Backtest คืออะไร? เครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพกลยุทธ์การเทรด
<style type="text/css">thead { background-color: #3e4a5a; } thead tr th { color: white; } .header-row { background-color: #3e4a5a; } .header-row th { color: white; } .article__content tr:nth-child(even) td{ border: 1px solid #ddd !important; } table tbody tr:nth-of-type(even){ background-color: #f2f6f6 !important; } </style> <h2>1. การทดสอบกลยุทธ์ในการเทรดและการ Backtest คืออะไร?</h2> <p>การทดสอบและBacktest เป็นการใช้ข้อมูลราคาในอดีตสำหรับการซื้อขายแบบอะนาล็อก ช่วยให้เราสามารถตรวจสอบสถานการณ์ในอดีต เพื่อทดสอบลัปรับปรุงกลยุทธ์การเทรดของเรา แม้ว่าการทดสอบและการ Backtest จะมีความหมายคล้ายกัน แต่สถานการณ์การใช้งานยังคงมีความแตกต่างกัน:<br /> </p> <table border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width:100%;"> <tbody> <tr> <td>การทดสอบกลยุทธ์การเทรด</td> <td> <ul> <li>เหมาะสำหรับเทรดเดอร์ที่ทำการซื้อขายด้วยตนเอง </li> <li>ทดสอบกลยุทธ์การซื้อขายส่วนบุคคล </li> <li>ระบุข้อผิดพลาดและพัฒนาทักษะการซื้อขายโดยการเทดสอบกับข้อมูลในอดีต กระบวนการนี้เน้นการประเมินและการปรับเปลี่ยนการวิเคราะห์เกี่ยวกับความคิดและกลยุทธ์ในการเทรด </li> <li>มองย้อนกลับไปเพื่อทบทวนการกระทำและการตัดสินใจของคุณ</li> </ul> </td> </tr> <tr> <td>Backtest</td> <td> <ul> <li>เหมาะสำหรับเทรดเดอร์ที่ใช้โปรแกรมในการซื้อขาย</li> <li>ใช้ข้อมูลในอดีต รวมถึงอัลกอริธึมหรือข้อกำหนดที่ผู้ใช้สร้างขึ้น เพื่อเปรียบเทียบการซื้อขายอัตโนมัติสำหรับประเมินความเป็นไปได้และประสิทธิผลของกลยุทธ์การซื้อขาย </li> <li>นำข้อมูลในอดีตมาอ้างอิงเพื่อนำไปปรับใช้กับการซื้อขายของคุณ</li> </ul> </td> </tr> </tbody> </table> <p>Traders Gym ของเราเป็นเครื่องมือที่ออกแบบมาสำหรับการทดสอบกลยุทธ์การซื้อขายด้วยตนเองโดยเฉพาะ ในปัจจุบันจึงยังไม่มีการรองรับการ Backtest การเทรดที่ตั้งโปรแกรมไว้ </p> <h2>2. ความสำคัญของการทดสอบกลยุทธ์การเทรด</h2> <p>หน้าที่หลักของการทดสอบกลยุทธ์คือการเปิดโอกาสให้เราตรวจสอบช่วงเวลาที่เราทำการตัดสินใจซื้อขายที่สำคัญ และคิดทบทวนความคิดและการตัดสินใจของเราในขณะนั้น ให้เราสามารถทำการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์และพัฒนาจิตใจเพื่อเพิ่มความสามารถในการตัดสินใจซื้อขายของเราในอนาคต <br /> </p> <p><img alt="ความสำคัญของการทบทวนและการทดสอบย้อนหลัง" src="/getmedia/6732ca32-01a2-46a8-bf61-ad56584a4092/Importance-of-Replay-and-Backtesting-thai.png" title="ความสำคัญของการทบทวนและการทดสอบย้อนหลัง" width="100%" /></p> <p>ตอนนี้เราเข้าใจถึงความสำคัญของการทดสอบกลยุทธ์แล้ว ว่าเราสามารถสำรวจวิธีดำเนินการซื้อขายในอดีตของเราได้ การทดสอบกลยุทธ์สามารถช่วยให้เราพิจราณาตนเองได้อย่างลึกซึ้ง เพื่อหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดในอดีต และปรับทัศนคติรวมถึงกลยุทธ์ในการเทรดของเรา<br /> </p> <p>*<strong>การเตรียมตัว: พัฒนากลยุทธ์การซื้อขาย (หัวใจสำคัญของการทำธุรกรรมที่ประสบความสำเร็จ)</strong></p> <p><br /> กลยุทธ์การซื้อขายเป็นรากฐานสำคัญของการเทรดที่ประสบความสำเร็จ ไม่ว่าคุณจะเป็นเทรดเดอร์มือใหม่หรือเทรดเดอร์ที่มีประสบการณ์แล้ว กลยุทธ์การซื้อขายที่ชัดเจนสามารถช่วยให้คุณมีวินัยในการเทรดและตัดสินใจอย่างมีเหตุผลมากขึ้น <strong>หากคุณต้องการทราบขั้นตอนในการวิธีกำหนดกลยุทธ์การซื้อขาย</strong> คุณสามารถเรียนรู้จากกระบวนการต่อไปนี้:<br /> </p> <p><img alt="กลยุทธ์การเทรด" src="/getmedia/ad468ca7-46d9-4fb1-8254-d8f2b996e3d4/Trading-Strategy-thai.png" title="กลยุทธ์การเทรด" width="100%" /></p> <h2>3. การเลือกซอฟต์แวร์ในการโหลดข้อมูลกราฟในอดีต</h2> <p>หลังจากสามารถกำหนดกลยุทธ์การซื้อขายได้ในขั้นต้นแล้ว เราจำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ในการทดสอบเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำกำไรของกลยุทธ์นั้นสำหรับเรา โดยเราจะใช้ <strong>Traders Gym</strong> ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ในการทดสอบกลยุทธ์การเทรดที่ดีที่สุดในตลาด และ<strong>ที่สำคัญคือ ฟรี!!</strong> </p> <p> </p> <p>Traders Gym เป็นซอฟต์แวร์ที่ให้บริการโดย <a href="https://www.thinkmarkets.com/th/trading-platforms/thinktrader/">ThinkMarkets</a> นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ออนไลน์ที่มีชื่อเสียง ทั้งยังรองรับสินทรัพย์ทางการเงินระหว่างประเทศกว่า 4,000 รายการ </p> <h3><u>Trader Gym มีข้อดีดังต่อไปนี้:</u></h3> <ul> <li>ไม่จำเป็นต้องดาวน์โหลดและติดตั้งซอฟต์แวร์ โดยสามารถทำการ Backtest บนแพลตฟอร์มเว็บได้โดยต</li> <li>รองรับการใช้กราฟถึง 10 Timeframe ตั้งแต่กราฟ 1 นาทีไปจนถึงกราฟรายเดือนเพื่อ Backtest</li> <li>ตั้งเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการ Backtest ได้อย่างรวดเร็ว</li> <li>สามารถปรับความเร็วในการแสดงผลได้ถึงหกระดับ: 0.5x, 1x, 5x, 10x, 25x และ 50x</li> <li>ใช้แผนภูมิขั้นสูงรูปแบบเดียวกับ TradingView ได้ฟรีเพื่อจำลองการซื้อขายระหว่าง Backtest</li> </ul> <p><br /> <strong>สามารถลงทะเบียน Traders Gym ได้ฟรี</strong><br /> <br /> Traders Gym เป็นส่วนหนึ่งของแพลตฟอร์มเว็บ ThinkTrader และสามารถใช้งานได้โดยลูกค้าที่เปิดบัญชี ThinkTrader เท่านั้น อย่างไรก็ตาม เทรดเดอร์สามารถลงทะเบียนบัญชีจริงของ ThinkMarkets ได้อย่างรวดเร็ว และใช้เครื่องมือ Backtest อย่าง Traders Gym ได้ฟรี<br /> <br /> (บัญชี ThinkTrader มีข้อกำหนดในการฝากขั้นต่ำที่ $50)<br /> <br /> <a href="https://portal.thinkmarkets.com/account/login?lang=th">สามารถคลิกเพื่อทำการสมัครใช้งาน Trader Gym ได้ที่นี่</a><br /> </p> <p>คลิกที่ลิงค์ด้านบนเพื่อกรอกข้อมูลและลงทะเบียน คุณสามารถเข้าสู่ระบบแพลตฟอร์มเว็บ ThinkTrader ได้โดยตรงโดยใช้เพียงที่อยู่อีเมลและรหัสผ่านที่ลงทะเบียนไว้ในขั้นตอนแรกของแบบฟอร์มการสมัคร แล้วคุณจะสามารถใช้งานฟังก์ชันการ Backtest ของ Traders Gym ได้ฟรี<br /> </p> <p><a href="https://web.thinktrader.com/account/login">คลิกเพื่อเข้าสู่ระบบแพลตฟอร์ม ThinkTrader</a><br /> <br /> <img alt="บัญชีการเทรดที่สร้างขึ้น" src="/getmedia/d7dd7b4b-7424-4860-984b-d7c46feef574/Trading-Account-Created-thai.png" title="บัญชีการเทรดที่สร้างขึ้น" width="100%" /><br /> <br /> นักลงทุนที่สนใจซื้อขายสินทรัพย์ต่างประเทศ เช่น การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (Forex) ทองคำ น้ำมันดิบ (WTI, Brent) ดัชนี และ Bitcoin สามารถดำเนินการขั้นตอนที่เหลือต่อไปได้ ด้วยการลงทุนเพียง 50 ดอลลาร์สหรัฐ เทรดเดอร์สามารถใช้เลเวอเรจ (leverage) 500 เท่าเพื่อซื้อขายสินทรัพย์ระหว่างประเทศกว่า 4,000 รายการ</p> <h2>4. จะทบสอบกลยุทธ์ในการเทรดได้อย่างไร?</h2> <p>หลังจากเลือกซอฟต์ในการทดสอบแล้วคืนแล้ว ในขั้นตอนต่อไปเราจะสอบวิธีการใช้งาน Trader Gym:</p> <h3>4.1 <u>เข้าสู่ระบบแพลตฟอร์ม Thinktrader</u></h3> <p><img alt="เปิด Traders Gym" src="/getmedia/cedad824-acc8-4277-aee5-cc7619376b97/Open-Traders-Gym-thai.png" title="เปิด Traders Gym" width="100%" /><br /> <a href="https://web.thinktrader.com/account/login">คลิกที่นี่เพื่อเข้าสู่ระบบแพลตฟอร์ม ThinkTrader</a> หลังจากเข้าสู่ระบบ คุณสามารถเข้าสู่ซอฟต์แวร์ Backtest (Traders Gym) ได้โดยการคลิกที่สัญลักษณ์ดัมเบลทางด้านซ้าย</p> <h3>4.2 <u>ขั้นตอนการ Backtest</u></h3> <p><img alt="เพิ่มการทดสอบย้อนหลัง" src="/getmedia/891b5eb6-2dee-4007-8df3-b2915bfcad53/Add-Backtesting-thai.png" title="เพิ่มการทดสอบย้อนหลัง" width="100%" /> <br /> <br /> ขั้นแรก คุณสามารถเลือกสร้างกลยุทธ์ในการเทรดใหม่ได้โดยการคลิกสัญลักษณ์ "+" ทางด้านขวาในคอลัมน์การจำลอง (Simulation) หรือสัญลักษณ์ "Add Simulation" ที่ด้านล่าง<br /> <br /> ทั้งสองวิธีจะเปิดแถบค้นหาที่คุณสามารถค้นหาและเลือกผลิตภัณฑ์ที่คุณต้องการได้ ในขณะเดียวกัน คุณยังสามารถเริ่มค้นหาได้โดยตรงจากแถบค้นหาที่ด้านบน</p> <h3>4.3 <u>การตั้งค่าการรีเพลย์</u><br /> <img alt="การตั้งค่าการทดสอบย้อนหลัง" src="/getmedia/c2906076-dde3-4a9d-9d58-0699ccbfc999/Backtesting-Setting-thai.png" title="การตั้งค่าการทดสอบย้อนหลัง" width="100%" /></h3> <p>หลังจากเลือกและป้อนชื่อผลิตภัณฑ์สำหรับ Backtest แล้ว ให้เลือก Timeframe และเลือกช่วงเวลาในอดีตที่คุณต้องการโหลดและส่วนที่คุณต้องการเล่นซ้ำ<br /> <br /> คุณสามารถเปลี่ยนช่วงเวลาของแผนภูมิเป็นช Timeframe ที่ใหญ่ขึ้นได้เท่านั้น ตัวอย่างเช่น: หากข้อมูลที่โหลดครั้งแรกอยู่ในกรอบ [1วัน] จากนั้นแผนภูมิจะสามารถเปลี่ยนให้แสดงเพิ่มเติ่มได้เฉพาะ [สัปดาห์] หรือ [เดือน] และไม่สามารถแสดงเป็น (ชั่วโมง) (30 นาที) เป็นต้น<br /> <br /> หากคุณต้องการเปลี่ยนไปใช้ Timeframe เล็กลง คุณจะต้องสร้างการ Simulation ใหม่</p> <h3><img alt="ปรับความเร็ว" src="/getmedia/11ef467d-eb0f-40e9-945a-fefbc8e5942b/adjust-speed-thai.png" title="ปรับความเร็ว" width="100%" /></h3> <p>เมื่อโหลด Backtest แล้ว คุณสามารถเลือกให้เริ่มเล่นโดยอัตโนมัติ หรือขยับกราฟราคา ด้วยตนเอง<br /> </p> <p>ความเร็วการเล่นมาตรฐานคืออัตราส่วน 1 นาทีต่อ1วินาที แต่ในขณะเดียวกัน คุณสามารถปรับความเร็วได้โดยใช้ตัวเลือกความเร็ว ซึ่งสามารถปรับได้ตั้งแต่ 0.25x ถึง 10x<br /> </p> <h3>4.4 <u>ลบกลยุทธ์ที่ทำการทดสอบ</u></h3> <p><img alt="ลบการทดสอบย้อนหลัง" src="/getmedia/80fb78b9-5ad7-4224-b6a6-8ddd60b18905/Delete-backtesting-thai.png" title="ลบการทดสอบย้อนหลัง" width="100%" /><br /> หากคุณต้องการลบการ Simulation ให้คลิกไอคอนลบรูปกากบาท<br /> <br /> เมื่อ Simulation ถูกลบ คำสั่งซื้อและตำแหน่ง (positions) ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องจะถูกลบออก และการเปลี่ยนแปลงในยอดคงเหลือในบัญชีจะถูกเปลี่ยนคืน</p> <h3>4.5 <u>การทดสอบส่งคำสั่งซื้อขาย</u></h3> <p><img alt="การเล่นซ้ำ" src="/getmedia/2eb3eb5d-75d4-418a-9337-563da8b67cd9/Replay-thai.png" title="การเล่นซ้ำ" width="100%" /><br /> <br /> หลังจากตั้งค่าการ Backtest แล้ว คุณจะสามารถใช้ฟังก์ชันการสร้างกราฟทั้งหมดได้อย่างเต็มที่ รวมถึงเครื่องมือวาดภาพและอินดิเคเตอร์ต่างๆ เพื่อการวิเคราะห์โดยละเอียดระหว่างทำการ Backtest<br /> <br /> สุดท้าย คุณสามารถวางคำสั่งซื้อขายได้โดยคลิกปุ่ม "ซื้อ" และ "ขาย" ที่มุมขวาบน จากนั้นหน้าต่างการซื้อขายจะปรากฏขึ้น เมื่อทำการสั่งซื้อ คุณสามารถเลือกซื้อราคาตลาด ( Market Order: ราคาปัจจุบัน) คำสั่งซื้อล่วงหน้า หรือตั้งและกำหนดจุดทำกำไรและจุดหยุดการขาดทุนสำหรับคำสั่งซื้อนั้น<br /> <br /> เมื่อจคำสั่งซื้อถูกจับคู่เรียบร้อยแล้ว รายละเอียดการซื้อขายจะแสดงในคอลัมน์ด้านล่าง<br /> <br /> ต่อไป เราจะมาดูขั้นตอนการ Backtest จริงกัน</p> <h2>5.ตัวอย่างการ Backtest</h2> <h3><u>ตัวอย่างการ Backtest ในทองคำ</u><br /> <img alt="ตัวอย่างการทดสอบย้อนหลัง" src="/getmedia/ecab79d3-1b59-40fa-ab18-8a9db5924a0d/Backtesting-Example-th.png" title="ตัวอย่างการทดสอบย้อนหลัง" width="100%" /></h3> <p><br /> ขั้นแรก เราต้องค้นหาผลิตภัณฑ์ที่เราต้องการทำ Backtest ก่อน ผลิตภัณฑ์ที่เราต้องการทำ Backtest ในครั้งนี้นี่คือทองคำเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ (XAUUSD) ดังนั้นเราจะป้อน XAUUSD ในแถบค้นหา<br /> <img alt="การตั้งค่าการทดสอบย้อนหลัง" src="/getmedia/24780c1b-0752-4f9e-a28a-2d4ad8d747b2/Backtesting-Settings-thai.png" title="การตั้งค่าการทดสอบย้อนหลัง" width="100%" /><br /> โดยเราจะทำการทดสอบกลยุทธ์การซื้อเบรคเอ้าท์ใน Timeframe 5 นาที ดังนั้นเราจึงตั้งชื่อการทดสอบย้อนหลังเป็น "XAUUSD 5m Breakout " และเลือก Timeframe เป็น 5 นาที<br /> <img alt="เริ่มการทดสอบย้อนหลัง" src="/getmedia/3669159e-5140-4da9-8f2c-e88d79209f7c/Start-Backtesting-thai.png" title="เริ่มการทดสอบย้อนหลัง" width="100%" /><br /> <br /> เมื่อทุกอย่างพร้อมแล้ว เราก็เริ่ม Backtest ได้เลย คลิกซื้อเมื่อคุณเห็นโอกาสในการเข้าเทรดบนกราฟ หลังจากซื้อสำเร็จแล้ว ให้เราตรวจดูข้อมูลคำสั่งซื้อได้ในคอลัมน์ตำแหน่งด้านล่าง<br /> <img alt="ปิด" src="/getmedia/f3155f45-03f9-4d85-90bd-b6e61a33aafc/Closing-thai.png" title="ปิด" width="100%" /><br /> <br /> เมื่อราคาถึงจุดทำกำไรของเรา เราสามารถปิดตำแหน่งได้โดยคลิกปุ่ม “X" ที่มุมขวาล่างของแถบออเดอร์การซื้อขาย หลังจากนี้เราเพียงแต่ต้องคลิกซื้อต่อเมื่อกราฟเกิดการเบรคเอ้าท์ และคลิกเพื่อปิดออเดอร์เมื่อถึงราคาเป้าหมายกำไรหรือจุดตัดขาดทุน</p> <h2>6. สถิติหลังการทบสอบจากการ Backtest</h2> <p>หลังจากเสร็จสิ้นการ Backtest เราสามารถคลิกที่ส่วน "สถานะที่ปิด" ในคอลัมน์ตำแหน่งด้านล่างเพื่อดูกำไรและขาดทุนจากการเทรด<br /> <br /> ด้วยการดูบันทึกธุรกรรม เราสามารถนับอัตราการชนะ อัตราส่วนกำไรและขาดทุน และข้อมูลอื่น ๆ ของกลยุทธ์ เพื่อประเมินประสิทธิภาพของกลยุทธ์ได้ดีขึ้น เพื่อหาวิธีการปรับปรุง<br /> <img alt="คำนวณกำไรและขาดทุน" src="/getmedia/269ad5e6-68cc-4a70-8359-d823cc8ee9e9/Count-profit-and-loss-thai.png" title="คำนวณกำไรและขาดทุน" width="100%" /></p> <h3>6.1 วิเคราะห์กลยุทธ์การซื้อขาย</h3> <p><br /> หลังจากเสร็จสิ้นการ Backtest แล้ว การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของกลยุทธ์การซื้อขายถือเป็นกุญแจสำคัญ ต่อไปนี้คือเมตริกสำคัญบางส่วนที่คุณสามารถใช้เพื่อประเมินกลยุทธ์และเพิ่มประสิทธิภาพได้:<br /> </p> <table border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width:100%;"> <tbody> <tr> <td>อัตราการชนะ</td> <td> <ul> <li>คำนวณจากจำนวนการซื้อขายที่ทำกำไรหารด้วยจำนวนการซื้อขายทั้งหมด</li> <li>อัตราการชนะที่สูงบ่งชี้ว่ากลยุทธ์นั้นมีประสิทธิภาพ แต่ยังคงจำเป็นต้องรวมกับตัวชี้วัดอื่นๆ เพื่อประเมินอย่างครบถ้วน</li> </ul> </td> </tr> <tr> <td>การขาดทุนสูงสุด</td> <td> <ul> <li>จำนวนเงินสูงสุดที่ลดลงจากบัญชีจากจุดสูงสุดไปยังจุดต่ำสุดในช่วงเวลาหนึ่ง</li> <li>ตัวเลขที่แสดงถึงการลดลงที่ไม่มากบ่งชี้ถึงความเสี่ยงที่ลดลงและโอกาสในการเติบโตของเงินทุน</li> </ul> </td> </tr> <tr> <td>อัตราส่วนระหว่างกำไรและขาดทุน</td> <td> <ul> <li>อัตราส่วนของกำไรเทียบกับการขาดทุนโดยเฉลี่ยเป็นตัวบ่งชี้ความสามารถในการทำกำไรที่มั่นคง</li> <li>สามารถคำนวณโดยการหารจำนวนกำไรทั้งหมดด้วยจำนวนขาดทุนทั้งหมด</li> <li>อัตราส่วนกำไรต่อขาดทุนที่มากกว่า 1 หมายความว่ากำไรเฉลี่ยสูงกว่าขาดทุน</li> </ul> </td> </tr> </tbody> </table> <br /> ตัวบ่งชี้เหล่านี้ช่วยให้คุณมีความเข้าใจอย่างสมบูรณ์เกี่ยวกับความสามารถในการทำกำไรและระดับความเสี่ยงของกลยุทธ์ของคุณ ตัวอย่างเช่น กลยุทธ์ที่มีอัตราการชนะสูงและอัตราส่วนกำไรต่อขาดทุนสูงมักจะมีความสามารถในการทำกำไรที่ดีกว่า แต่หากการขาดทุนสูงสุดมีมาก คุณจำเป็นจะต้องใส่ใจกับการบริหารความเสี่ยงมากขึ้น <p><br /> นอกจากนี้ คุณยังสามารถอ้างอิงตัวบ่งชี้อื่นๆ ได้ (เช่น ผลตอบแทนรายปี ความถี่ในการซื้อขาย อัตราส่วนชาร์ป ฯลฯ) และยังสามารถใช้การอ้างอิงเชิงมิติเพิ่มเติมเพื่อช่วยคุณปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพกลยุทธ์ในการซื้อขายของคุณ</p> <h3>6.2 การเพิ่มประสิทธิภาพหลังการวิเคราะห์</h3> <p><br /> หลังจากเสร็จสิ้นการ Backtest และการวิเคราะห์ข้อมูลแล้ว คุณจะพบกับปัญหาบางประการในกลยุทธ์ของคุณ ปัญหาเหล่านี้อาจนำไปสู่ผลลัพธ์การซื้อขายที่ไม่น่าพอใจและจำเป็นต้องมีการแก้ไขเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ</p> <h4>6.2.1 การระบุปัญหาในเชิงกลยุทธ์</h4> <p>ขั้นแรก คุณต้องระบุปัญหาในกลยุทธ์ของคุณ จากนั้นค่อยปรับเปลี่ยนและเพิ่มประสิทธิภาพ<br /> <br /> คำแนะนำในการเพิ่มประสิทธิภาพโดยทั่วไปมีดังนี้:<br /> </p> <table border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width:100%;"> <tbody> <tr> <td>การขาดทุนมากเกินไป</td> <td>คุณสามารถปรับจุดตัดขาดทุน ลดระยะจุดขาดทุน หรือลดขนาดของคำสั่งซื้อของแต่ละธุรกรรมเพื่อควบคุมความเสี่ยง</td> </tr> <tr> <td>อัตราการชนะต่ำ</td> <td>ประเมินตัวบ่งชี้ทางเทคนิคและเงื่อนไขการเข้าซื้อขายใหม่อีกครั้ง เช่น การใช้อินดิเคเตอร์ทางเทคนิค เช่น ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่และ MACD เพื่อเพิ่มความแม่นยำของสัญญาณ</td> </tr> <tr> <td>อัตราส่วนกำไรน้อย</td> <td>ปรับจุดทำกำไรให้เหมาะสมและขยายเวลาการถือออเดอร์ที่ทำกำไรเพื่อให้แน่ใจว่าแต่ละการซื้อขายมีศักยภาพในการทำกำไรที่สูงพอ</td> </tr> </tbody> </table> <p><br /> ด้วยการปรับแต่งและเพิ่มประสิทธิภาพกลยุทธ์ของคุณ คุณจะสามารถปรับปรุงเสถียรภาพและความสามารถในการทำกำไรได้ การวิเคราะห์และเพิ่มประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องทำให้คุณมั่นใจได้ว่ากลยุทธ์นี้จะสามารถบรรลุผลกำไรที่มั่นคงภายใต้สภาวะตลาดที่แตกต่างกัน</p> <h4>6.2.2 เพิ่มประสิทธิภาพและทดสอบกลยุทธ์การซื้อขายซ้ำๆ</h4> <p><br /> หลังจากปรับกลยุทธ์ให้เหมาะสมแล้ว คุณสามารถดำเนินการทดสอบใน Traders Gym เพื่อตรวจสอบผลลัพธ์ว่ามีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมแล้วหรือไม่ หลังจากการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในแต่ละครั้ง ให้วิเคราะห์ผลการตรวจสอบอย่างรอบคอบเพื่อให้แน่ใจว่ากลยุทธ์สามารถสร้างผลกำไรที่มั่นคงภายใต้สภาวะตลาดที่แตกต่างกันได้จริง</p> <h2>7. สรุป</h2> <p>ด้วยการกำหนดเป้าหมายในการซื้อขายที่ชัดเจน การเลือกเป้าหมายที่เหมาะสม การใช้ตัวบ่งชี้ทางเทคนิคที่มีประสิทธิภาพ และการบริหารความเสี่ยงที่เข้มงวด คุณจะสามารถเพิ่มโอกาสสำเสร็จในการเทรดได้<br /> <br /> การตรวจสอบกลยุทธ์เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนากลยุทธ์การเทรด เพราะมันจะช่วยให้คุณสามารถประเมินประสิทธิภาพและระดับความเสี่ยงของกลยุทธ์ได้อย่างครอบคลุมโดยใช้ตัวบ่งชี้ เช่น อัตราการชนะ การขาดทุนสูงสุด และอัตราส่วนกำไรต่อขาดทุน</p>
คำศัพท์การเทรด
ในการเทรดฟอเร็กซ์ คุณจำเป็นต้องเข้าใจคำศัพท์การเทรดพื้นฐานบางคำ